ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนเจริญรัถ"

พิกัด: 13°43′34″N 100°30′04″E / 13.726102°N 100.501225°E / 13.726102; 100.501225
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ถนนเจริญรัถ''' ({{lang-roman|Thanon Charoen Rat}}) ถนนสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงคลองสาน และแขวงคลองต้นไทร [[เขตคลองสาน]] ใน[[ฝั่งธนบุรี]] เดิมเคยเป็น[[ทางรถไฟ]][[ทางรถไฟสายแม่กลอง|สายแม่กลอง]]มาก่อน โดยเป็นส่วนต้นของทางรถไฟสายนี้ ที่วิ่งจาก[[สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่|สถานีวงเวียนใหญ่]] ไปยังสถานีปลายทาง คือ [[สถานีรถไฟปากคลองสาน|สถานีปากคลองสาน]] แต่ในรัฐบาลที่มี[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เป็นนายกรัฐมนตรีได้ยกเลิกทางรถไฟส่วนนี้และยกเลิกสถานีปากคลองสาน และถมที่สร้างเป็นถนนแทน<ref> โรม บุนนาค. ''ชุดบันทึกแผ่นดิน ตอน เรื่องเก่าเล่าสนุก ๒''. กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2552. 216 หน้า. ISBN 978-611-7180-00-2</ref>
'''ถนนเจริญรัถ''' ({{lang-roman|Thanon Charoen Rat}}) ถนนสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงคลองสาน และแขวงคลองต้นไทร [[เขตคลองสาน]] ใน[[ฝั่งธนบุรี]] เดิมเคยเป็น[[ทางรถไฟ]][[ทางรถไฟสายแม่กลอง|สายแม่กลอง]]มาก่อน โดยเป็นส่วนต้นของทางรถไฟสายนี้ ที่วิ่งจาก[[สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่|สถานีวงเวียนใหญ่]] ไปยังสถานีปลายทาง คือ [[สถานีรถไฟปากคลองสาน|สถานีปากคลองสาน]] แต่ในรัฐบาลที่มี[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เป็นนายกรัฐมนตรีได้ยกเลิกทางรถไฟส่วนนี้และยกเลิกสถานีปากคลองสาน และถมที่สร้างเป็นถนนแทน<ref> โรม บุนนาค. ''ชุดบันทึกแผ่นดิน ตอน เรื่องเก่าเล่าสนุก ๒''. กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2552. 216 หน้า. ISBN 978-611-7180-00-2</ref>


ถนนเจริญรัถ เป็นถนนที่มีลักษณะเป็น[[ซอย]] เชื่อมระหว่าง[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]] ด้าน[[วงเวียนใหญ่]] กับ[[ถนนเจริญนคร]] ในช่วงต้นถนน ในฝั่งถนนด้านวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดวงเวียนใหญ่ เป็น[[ตลาดสด]]ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี และกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้แล้วช่วงถัดไป ยังเป็นแหล่งรวมร้านค้าที่ขายสินค้าเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำเครื่องหนังและกระเป๋าไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งค้าปลีกและ[[ค้าส่ง]] นับเป็นแหล่งรวมร้านค้าประเภทนี้ที่ขึ้นชื่อ<ref>{{cite web|url= http://www.chokepranee.com/%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-48719-1-%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%8B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html|title=แหล่งขายผ้าและวัสดุทำกระเป๋าที่ใหญ่ที่สุดในไทย|work=chokepranee}}</ref> ถนนเจริญรัถไปสิ้นสุดที่[[แยกเจริญนคร]] ที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญนคร ซึ่งบริเวณนี้เป็นท่าคลองสาน ท่าเรือข้ามฟากที่ข้ามไปยัง[[ท่าสี่พระยา]] ใน[[ฝั่งพระนคร]]ได้ ซึ่งอยู่ใกล้กับ[[ริเวอร์ซิตี้]]และโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และสามารถเชื่อมต่อไปยัง[[ย่านตลาดน้อย]] และ[[ตรอกกัปตันบุช]] (ซอยเจริญกรุง 30) อันเป็นย่านเก่าแก่ที่อยู่ใกล้เคียงได้<ref>{{cite web|url=http://www.happyoutlouds.com/taladnoi/|title=Bangkok เดินเที่ยวตลาดน้อย – ซอยกัปตันบุช|date=2016-09-30|work=HAPPYOUTLOUD}}</ref>
ถนนเจริญรัถ เป็นถนนที่มีลักษณะเป็น[[ซอย]] เชื่อมระหว่าง[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]] ด้าน[[วงเวียนใหญ่]] กับ[[ถนนเจริญนคร]] ในช่วงต้นถนน ในฝั่งถนนด้านวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดวงเวียนใหญ่ เป็น[[ตลาดสด]]ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี และกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้แล้วช่วงถัดไป ยังเป็นแหล่งรวมร้านค้าที่ขายสินค้าเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำเครื่องหนังและกระเป๋าไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งค้าปลีกและ[[ค้าส่ง]] นับเป็นแหล่งรวมร้านค้าประเภทนี้ที่ขึ้นชื่อ<ref>{{cite web|url= http://www.chokepranee.com/%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-48719-1-%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%8B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html|title=แหล่งขายผ้าและวัสดุทำกระเป๋าที่ใหญ่ที่สุดในไทย|work=chokepranee}}</ref> ถนนเจริญรัถไปสิ้นสุดที่[[แยกเจริญนคร]] ที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญนคร ซึ่งบริเวณนี้เป็นศูนย์การค้าในชื่อ คลองสานพลาซ่า และเป็นท่าคลองสาน ท่าเรือข้ามฟากที่ข้ามไปยัง[[ท่าสี่พระยา]] ใน[[ฝั่งพระนคร]]ได้ ซึ่งอยู่ใกล้กับ[[ริเวอร์ซิตี้]]และโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และสามารถเชื่อมต่อไปยัง[[ย่านตลาดน้อย]] และ[[ตรอกกัปตันบุช]] (ซอยเจริญกรุง 30) อันเป็นย่านเก่าแก่ที่อยู่ใกล้เคียงได้<ref>{{cite web|url=http://www.happyoutlouds.com/taladnoi/|title=Bangkok เดินเที่ยวตลาดน้อย – ซอยกัปตันบุช|date=2016-09-30|work=HAPPYOUTLOUD}}</ref>


รถโดยสารประจำทางสาย 57 เป็นเพียงสายเดียวที่วิ่งผ่านถนนเจริญรัถตลอดทั้งสาย
รถโดยสารประจำทางสาย 57 เป็นเพียงสายเดียวที่วิ่งผ่านถนนเจริญรัถตลอดทั้งสาย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:04, 17 มิถุนายน 2562

ถนนเจริญรัถ (อักษรโรมัน: Thanon Charoen Rat) ถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงคลองสาน และแขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน ในฝั่งธนบุรี เดิมเคยเป็นทางรถไฟสายแม่กลองมาก่อน โดยเป็นส่วนต้นของทางรถไฟสายนี้ ที่วิ่งจากสถานีวงเวียนใหญ่ ไปยังสถานีปลายทาง คือ สถานีปากคลองสาน แต่ในรัฐบาลที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีได้ยกเลิกทางรถไฟส่วนนี้และยกเลิกสถานีปากคลองสาน และถมที่สร้างเป็นถนนแทน[1]

ถนนเจริญรัถ เป็นถนนที่มีลักษณะเป็นซอย เชื่อมระหว่างถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ด้านวงเวียนใหญ่ กับถนนเจริญนคร ในช่วงต้นถนน ในฝั่งถนนด้านวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดสดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี และกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้แล้วช่วงถัดไป ยังเป็นแหล่งรวมร้านค้าที่ขายสินค้าเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำเครื่องหนังและกระเป๋าไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งค้าปลีกและค้าส่ง นับเป็นแหล่งรวมร้านค้าประเภทนี้ที่ขึ้นชื่อ[2] ถนนเจริญรัถไปสิ้นสุดที่แยกเจริญนคร ที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญนคร ซึ่งบริเวณนี้เป็นศูนย์การค้าในชื่อ คลองสานพลาซ่า และเป็นท่าคลองสาน ท่าเรือข้ามฟากที่ข้ามไปยังท่าสี่พระยา ในฝั่งพระนครได้ ซึ่งอยู่ใกล้กับริเวอร์ซิตี้และโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และสามารถเชื่อมต่อไปยังย่านตลาดน้อย และตรอกกัปตันบุช (ซอยเจริญกรุง 30) อันเป็นย่านเก่าแก่ที่อยู่ใกล้เคียงได้[3]

รถโดยสารประจำทางสาย 57 เป็นเพียงสายเดียวที่วิ่งผ่านถนนเจริญรัถตลอดทั้งสาย

อ้างอิง

  1. โรม บุนนาค. ชุดบันทึกแผ่นดิน ตอน เรื่องเก่าเล่าสนุก ๒. กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2552. 216 หน้า. ISBN 978-611-7180-00-2
  2. "แหล่งขายผ้าและวัสดุทำกระเป๋าที่ใหญ่ที่สุดในไทย". chokepranee.
  3. "Bangkok เดินเที่ยวตลาดน้อย – ซอยกัปตันบุช". HAPPYOUTLOUD. 2016-09-30.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′34″N 100°30′04″E / 13.726102°N 100.501225°E / 13.726102; 100.501225