ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูก้นขบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


มีลำตัว[[สีดำ]]แกม[[ม่วง]] มีลาย[[สีขาว]]เป็นปล้อง ๆ ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษ เพราะมีพฤติกรรมชอบชูและแผ่หางซึ่งปลายที่มี[[สีแดง]][[สีส้ม|ส้ม]] เพื่อขู่ศัตรูให้เข้าใจผิด แต่เมื่อถูกคุกคามหรือจับตัว มักจะแกล้งทำเป็น[[ตาย]] เป็นงูที่หากินบนพื้นดิน รวมทั้งอาศัยอยู่ในโพรงในพื้นดิน อาหารของพวกมันได้แก่ หนอน ลูกงูจงอาง ตัวอ่อนของแมลง ปลา หนู ลูกงูแมวเซา กบ เขียด ตะปาด คางคก อึ่งอ่างและลูกพังพอน เป็นต้น<br />งูก้นขบออกเป็นตัวโดยไข่จะฟักในท้องและแม่งูจะคลอดลูกอีกทีเป็นตัวการกำเนิดจะสามารถพบในงูโบอาที่พบในทวิปอเมริกา จะออกลูก 8-13ตัว
มีลำตัว[[สีดำ]]แกม[[ม่วง]] มีลาย[[สีขาว]]เป็นปล้อง ๆ ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษ เพราะมีพฤติกรรมชอบชูและแผ่หางซึ่งปลายที่มี[[สีแดง]][[สีส้ม|ส้ม]] เพื่อขู่ศัตรูให้เข้าใจผิด แต่เมื่อถูกคุกคามหรือจับตัว มักจะแกล้งทำเป็น[[ตาย]] เป็นงูที่หากินบนพื้นดิน รวมทั้งอาศัยอยู่ในโพรงในพื้นดิน อาหารของพวกมันได้แก่ หนอน ลูกงูจงอาง ตัวอ่อนของแมลง ปลา หนู ลูกงูแมวเซา กบ เขียด ตะปาด คางคก อึ่งอ่างและลูกพังพอน เป็นต้น<br />งูก้นขบออกเป็นตัวโดยไข่จะฟักในท้องและแม่งูจะคลอดลูกอีกทีเป็นตัวการกำเนิดจะสามารถพบในงูโบอาที่พบในทวิปอเมริกา จะออกลูก 8-13ตัว

เป็นที่นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]] สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยง[[สัตว์เลื้อยคลาน]]หรือสัตว์แปลก ๆ โดยสามารถเลี้ยงได้ใน[[ตู้ปลา]] โดยการจัดสภาพแวดล้อมในที่เลี้ยงให้เลียนแบบธรรมชาติ


<br />
<br />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:39, 14 มิถุนายน 2562

งูก้นขบ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ไฟลัมย่อย: Vertebrata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Cylindrophiidae
สกุล: Cylindrophis
สปีชีส์: C.  ruffus
ชื่อทวินาม
Cylindrophis ruffus
(Laurenti, 1768)
ชื่อพ้อง
  • Anguis ruffa - Laurenti, 1768
  • [Anguis] rufus - Gmelin, 1788
  • [Anguis] striatus - Gmelin, 1788
  • Eryx rufus - Daudin, 1803
  • [Tortrix] rufa - Merrem, 1820
  • [Scytale] Schuechzeri - Merrem, 1820
  • A[guis]. (E[lysia].) rufus - Hemprich, 1820
  • Ilysia rufa - Lichtenstein, 1823
  • Cylindrophis resplendens - Wagler, 1828
  • [Tortrix] rufus - Gray, 1831
  • Cylindrophis rufa - Gray, 1842
  • Cylindrophis rufus - Cantor, 1847
  • Anguis rubra - Gray, 1849
  • Anguis rufa Var. Javanica - Gray, 1849
  • Cylindrophis rufus - Boulenger, 1893
  • Cylindrophis rufus rufus - M.A. Smith, 1943
  • Cylindrophis rufus burmanus - M.A. Smith, 1943
  • Cylindrophis rufus - Campden-Main, 1970[1]

งูก้นขบ (อังกฤษ: Red-tailed pipe snake[2]) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง ยาวได้ถึง 1 เมตร[3] พบในประเทศพม่า และตอนใต้ของประเทศจีน (มณฑลฝูเจี้ยน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง และมณฑลไหหลำ), ไปทางใต้จากประเทศเวียดนาม, ประเทศลาว, ประเทศกัมพูชา, ประเทศไทย, คาบสมุทรมลายู และอินเดียตะวันออก ถึงประเทศอินโดนีเซีย (หมู่เกาะรีอู (Riau Archipelago), เกาะสุมาตรา, บังกา (Bangka), เกาะบอร์เนียว, เกาะชวา, เกาะซูลาเวซี, บิวตัน (Buton) และหมู่เกาะซูลา (Sula Islands)

มีลำตัวสีดำแกมม่วง มีลายสีขาวเป็นปล้อง ๆ ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษ เพราะมีพฤติกรรมชอบชูและแผ่หางซึ่งปลายที่มีสีแดงส้ม เพื่อขู่ศัตรูให้เข้าใจผิด แต่เมื่อถูกคุกคามหรือจับตัว มักจะแกล้งทำเป็นตาย เป็นงูที่หากินบนพื้นดิน รวมทั้งอาศัยอยู่ในโพรงในพื้นดิน อาหารของพวกมันได้แก่ หนอน ลูกงูจงอาง ตัวอ่อนของแมลง ปลา หนู ลูกงูแมวเซา กบ เขียด ตะปาด คางคก อึ่งอ่างและลูกพังพอน เป็นต้น
งูก้นขบออกเป็นตัวโดยไข่จะฟักในท้องและแม่งูจะคลอดลูกอีกทีเป็นตัวการกำเนิดจะสามารถพบในงูโบอาที่พบในทวิปอเมริกา จะออกลูก 8-13ตัว

เป็นที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ โดยสามารถเลี้ยงได้ในตู้ปลา โดยการจัดสภาพแวดล้อมในที่เลี้ยงให้เลียนแบบธรรมชาติ


อ้างอิง

  1. McDiarmid RW, Campbell JA, Touré T. 1999. Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference, vol. 1. Herpetologists' League. 511 pp. ISBN 1-893777-00-6 (series). ISBN 1-893777-01-4 (volume).
  2. Species Cylindrophis ruffus at The Reptile Database. Accessed 17 August 2007.
  3. Burnie D, Wilson DE. 2001. Animal. Dorling Kindersley. 624 pp. ISBN 0-7894-7764-5.