ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชลน่าน ศรีแก้ว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เกิดเมื่อวันที่ [[4 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2504]] ที่[[ตำบลไหล่น่าน]] [[อำเภอเวียงสา]] [[จังหวัดน่าน]] เป็นบุตรของนายใจ ศรีแก้ว และนางหมาย ศรีแก้ว สำเร็จการศึกษาแพทย์ศาสตรบัณฑิต จาก[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2530]] และปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จาก[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] ในปี [[พ.ศ. 2542]]
นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เกิดเมื่อวันที่ [[4 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2504]] ที่[[ตำบลไหล่น่าน]] [[อำเภอเวียงสา]] [[จังหวัดน่าน]] เป็นบุตรของนายใจ ศรีแก้ว และนางหมาย ศรีแก้ว สำเร็จการศึกษาแพทย์ศาสตรบัณฑิต จาก[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2530]] และปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จาก[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] ในปี [[พ.ศ. 2542]]

=== ถึงแก่อนิจกรรม ===
ชลน่าน ศรีแก้ว ถึงแก่อนิจกรรม<ref>ด่วน!ชลน่าน ศรีแก้ว ถึงแก่อนิจกรรมแล้วเนื่องจากหัวใจวายหลังเข้าร่วมประชุมเมื่อบ่ายนี้ ศิริอายุ58ปี</ref>เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2562 เวลา 13.25 น. หลังจากร่วมการประชุมสภาแล้วหมดสติกระทันหันเพื่อนร่วมพรรคจึงรีบนำตัววส่งโรงพยาบาลเป็นการลับแพทย์ได้ทำการใส่เครื่องช่วยหายใจและทำการรักษาแต่ไม่เป็นผล และสิ้นใจในที่สุด ณ โรงพยาบาล โดยแพทย์สรุปสาเหตุการเถึงแก่อนิจกรรมว่าเกิดจากการหัวใจวายเฉียบพลัน เพราะร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเพราะหมดสติเป็นเวลานานทำให้หัวใจทำงานหนักจนหยุดทำงานและถึงแก่อนิจกรรมในที่สุด ศิริอายุ 58ปี 1วัน

== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลเวียงสา [[อำเภอเวียงสา]] จังหวัดน่าน และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว]] [[อำเภอปัว]] จังหวัดน่าน ระว่างปี พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 ต่อมาได้เข้ามาทำงานการเมือง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน สังกัดพรรคไทยรักไทย
ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลเวียงสา [[อำเภอเวียงสา]] จังหวัดน่าน และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว]] [[อำเภอปัว]] จังหวัดน่าน ระว่างปี พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 ต่อมาได้เข้ามาทำงานการเมือง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน สังกัดพรรคไทยรักไทย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:27, 5 มิถุนายน 2562

ชลน่าน ศรีแก้ว
ไฟล์:ชลน่าน ศรีแก้ว.jpg
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ดำรงตำแหน่ง
28 ตุลาคม พ.ศ. 2555 – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ก่อนหน้าสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
ถัดไปสรวงศ์ เทียนทอง
รองโฆษกพรรคเพื่อไทย
ดำรงตำแหน่ง
7 ธันวาคม พ.ศ. 2551 – 9 กันยายน พ.ศ. 2553
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด4 มิถุนายน พ.ศ. 2504
อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
เสียชีวิต5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (58 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พรรคการเมืองเพื่อไทย

นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน เขต 2 สังกัดพรรคเพื่อไทย[1] เคยได้รับการยกย่องเป็น "ดาวเด่นสภาฯ" จากการตั้งฉายานักการเมือง ของสื่อมวลชนประจำปี พ.ศ. 2552

ประวัติ

นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เกิดเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2504 ที่ตำบลไหล่น่าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เป็นบุตรของนายใจ ศรีแก้ว และนางหมาย ศรีแก้ว สำเร็จการศึกษาแพทย์ศาสตรบัณฑิต จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี พ.ศ. 2530 และปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2542

การทำงาน

ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลเวียงสา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว อำเภอปัว จังหวัดน่าน ระว่างปี พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 ต่อมาได้เข้ามาทำงานการเมือง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน สังกัดพรรคไทยรักไทย

ในปี พ.ศ. 2547 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และปี พ.ศ. 2548 เป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (วิปรัฐบาล) นอกจากนั้นแล้ว นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว ยังได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกพรรคเพื่อไทย ในระยะหนึ่งอีกด้วย

ปลายปี พ.ศ. 2552 สื่อมวลชนประจำรัฐสภา ได้ตั้งฉายานักการเมือง โดยให้ฉายานายแพทย์ชลน่านเป็น "ดาวสภาฯ" ด้วยบทบาทการอภิปรายโดยมุ่งเน้นข้อมูลมากกว่าการใช้วาทะศิลป์[2]

ชลน่าน ศรีแก้ว ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร[3] (ครม.ยิ่งลักษณ์ 3) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2555 กระทั่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
  • มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

อ้างอิง