ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น คณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ของไทย: เพิ่มความชัดเจน เป็นส�
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ปราโมช 17 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช 17 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519


ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคม มีสภาชิกสภา ผู้แทนราษฎรเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเพราะได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นผู้จักตั้งรัฐบาล เพื่อรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินแทน
ม.ร.ว. [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]] มีสภาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเพราะได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นผู้จักตั้งรัฐบาล เพื่อรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินแทน
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐบาลที่เกิดจากการรวมตัว
ของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และอื่นเรียกว่า “รัฐบาลสหพรรค”


รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐบาลที่เกิดจากการรวมตัวของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และอื่นเรียกว่า “รัฐบาลสหพรรค”
1) นโยบายของรัฐบาลสหพรรค
(1) การพัฒนาชนบท ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชดำเนินนโยบายกระจายความเจริญสู่ชนบทโดนจัดทำ“โครงการพัฒนาท้องถิ่นและช่วยเหลือประชาชนในชนบทให้มีงานทำในฤดูแล้ง” (ปชส.) หรือเรียกว่า “โครงการเงินผัน” สู่ตำบลทั่วประเทศ ให้ประชาชนได้มีงานทำและการจัดสวัสดิการสังคม การให้รักษาพยาบาลฟรี การศึกษาฟรี การขึ้นรถเมล์ฟรี ฯลฯ
(2) การเปิดความสัมพันธ์กับประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เช่นประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในแถบอินโดจีน คือประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีน ขณะเดียวกันมีการต่อต้านฐานทัพของสหรัฐอเมริกาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ประเทศไทย
2) ปัญหาความขัดแย้งในรัฐบาลสหพรรค
(1) การบริหารประเทศของรัฐบาลสหพรรคประสบกับความยุ่งยาก เนื่องจาก มีปัญหากันในคณะ รัฐบาล ได้แก่ การที่พรรคการเมืองหลาบพรรคที่ร่วมรัฐบาลต่างแย่งชิงผลประโยชน์ และเรียก
ร้องตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สนับสนุนรัฐบาล


===นโยบายของรัฐบาลสหพรรค===
3) วิกฤตการณ์และความขัดแย้งในสังคม
#การพัฒนาชนบท ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดำเนินนโยบายกระจายความเจริญสู่ชนบทโดนจัดทำ“โครงการพัฒนาท้องถิ่นและช่วยเหลือประชาชนในชนบทให้มีงานทำในฤดูแล้ง” (ปชส.) หรือเรียกว่า “[[โครงการเงินผัน]]” สู่ตำบลทั่วประเทศ ให้ประชาชนได้มีงานทำและการจัดสวัสดิการสังคม การให้รักษาพยาบาลฟรี การศึกษาฟรี การขึ้นรถเมล์ฟรี ฯลฯ
นอกจากปัญหาภายในรัฐบาลแล้ว ยังมีปัญหาและอุปสรรคที่เป็นความขัดแย้งนานัปการ เนื่อง-มาจากมีการแสดงออกซึ่งเสรีภาพต่างๆในรูปของการเรียกร้องความเป็นธรรม การชุมนุมการ ประท้วง การนัดหยุดงานบ่อยครั้ง เป็นต้น เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยนี้ได้แก่
#การเปิดความสัมพันธ์กับประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เช่นประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในแถบอินโดจีน คือประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีน ขณะเดียวกันมีการต่อต้านฐานทัพของสหรัฐอเมริกาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ประเทศไทย
(1) การประท้วงบริษัทเทมโก้ ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานขุดแร่ที่จังหวัดพังงา แนวน่วมพิทักษ์ทรัพยากรแห่ง ประเทศไทย และกลุ่มนิสิตนักศึกษามาร่วมกันประท้วงรัฐบาลให้ยกเลิกสัมปทานให้แก่บริษัทดังกล่าว โดยอ้างว่าเป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ

(2) การต่อต้านสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะการตั้งฐานทัพและเรดาร์ในประเทศไทย นักศึกษากลุ่มต่างๆรวมตัวกันเพื่อให้รัฐบาลไทยตกลงกับสหรัฐอเมริกาดำเนินการถอนฐานทัพออกไปจากแผ่นดินไทย เพราะทำให้ประเทศเป็นฐานในการก่อสงครามและทำลายความสงบสุขของประเทศเพื่อนบ้าน
===ปัญหาความขัดแย้งในรัฐบาลสหพรรค===
(3) การชุมนุมเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมของชาวไร่ชาวนาและผู้ใช้แรงงานซึ่งบีบบังคับให้รัฐบาลดำเนินการแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ เช่น หนี้สิน ราคาพืชผล ค่าแรง และปัญหาด้านกฎหมาย
การบริหารประเทศของรัฐบาลสหพรรคประสบกับความยุ่งยาก เนื่องจาก มีปัญหากันในคณะรัฐบาล ได้แก่ การที่พรรคการเมืองหลาบพรรคที่ร่วมรัฐบาลต่างแย่งชิงผลประโยชน์ และเรียกร้องตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สนับสนุนรัฐบาล
(4) การสังหารผู้นำกลุ่มต่างๆที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์และอุดมการณ์ เช่น การเรียกร้องขอขึ้นค่าแรงจากผู้ประกอบการในบริษัทต่างๆ การเรียกร้องกรรมสิทธิ์ที่ทำกินของชาวไร่ชาวนา ผู้ทำการเรียกร้องถูกมองว่าฝักใฝ่ในเรื่องคอมมิวนิสต์
===วิกฤตการณ์และความขัดแย้งในสังคม===
นอกจากปัญหาภายในรัฐบาลแล้ว ยังมีปัญหาและอุปสรรคที่เป็นความขัดแย้งนานัปการ เนื่อง-มาจากมีการแสดงออกซึ่งเสรีภาพต่างๆในรูปของการเรียกร้องความเป็นธรรม การชุมนุมการ ประท้วง การนัดหยุดงานบ่อยครั้ง เป็นต้น เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยนี้ได้แก่
#การประท้วงบริษัทเทมโก้ ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานขุดแร่ที่จังหวัดพังงา แนวน่วมพิทักษ์ทรัพยากรแห่ง ประเทศไทย และกลุ่มนิสิตนักศึกษามาร่วมกันประท้วงรัฐบาลให้ยกเลิกสัมปทานให้แก่บริษัทดังกล่าว โดยอ้างว่าเป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
#การต่อต้านสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะการตั้งฐานทัพและเรดาร์ในประเทศไทย นักศึกษากลุ่มต่างๆรวมตัวกันเพื่อให้รัฐบาลไทยตกลงกับสหรัฐอเมริกาดำเนินการถอนฐานทัพออกไปจากแผ่นดินไทย เพราะทำให้ประเทศเป็นฐานในการก่อสงครามและทำลายความสงบสุขของประเทศเพื่อนบ้าน
#การชุมนุมเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมของชาวไร่ชาวนาและผู้ใช้แรงงานซึ่งบีบบังคับให้รัฐบาลดำเนินการแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ เช่น หนี้สิน ราคาพืชผล ค่าแรง และปัญหาด้านกฎหมาย
#การสังหารผู้นำกลุ่มต่างๆที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์และอุดมการณ์ เช่น การเรียกร้องขอขึ้นค่าแรงจากผู้ประกอบการในบริษัทต่างๆ การเรียกร้องกรรมสิทธิ์ที่ทำกินของชาวไร่ชาวนา ผู้ทำการเรียกร้องถูกมองว่าฝักใฝ่ในเรื่องคอมมิวนิสต์


เนื่องจากพรรคร่างร่วมรัฐบาลนั้นขึ้นหลายพรรคการเมืองทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นึงเพียงพอ ดังนั้น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519
เนื่องจากพรรคร่างร่วมรัฐบาลนั้นขึ้นหลายพรรคการเมืองทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นึงเพียงพอ ดังนั้น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519

{{คณะรัฐมนตรี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:54, 24 พฤศจิกายน 2550

รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช 17 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519

ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคม มีสภาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเพราะได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นผู้จักตั้งรัฐบาล เพื่อรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินแทน

รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐบาลที่เกิดจากการรวมตัวของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และอื่นเรียกว่า “รัฐบาลสหพรรค”

นโยบายของรัฐบาลสหพรรค

  1. การพัฒนาชนบท ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดำเนินนโยบายกระจายความเจริญสู่ชนบทโดนจัดทำ“โครงการพัฒนาท้องถิ่นและช่วยเหลือประชาชนในชนบทให้มีงานทำในฤดูแล้ง” (ปชส.) หรือเรียกว่า “โครงการเงินผัน” สู่ตำบลทั่วประเทศ ให้ประชาชนได้มีงานทำและการจัดสวัสดิการสังคม การให้รักษาพยาบาลฟรี การศึกษาฟรี การขึ้นรถเมล์ฟรี ฯลฯ
  2. การเปิดความสัมพันธ์กับประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เช่นประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในแถบอินโดจีน คือประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีน ขณะเดียวกันมีการต่อต้านฐานทัพของสหรัฐอเมริกาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ประเทศไทย

ปัญหาความขัดแย้งในรัฐบาลสหพรรค

การบริหารประเทศของรัฐบาลสหพรรคประสบกับความยุ่งยาก เนื่องจาก มีปัญหากันในคณะรัฐบาล ได้แก่ การที่พรรคการเมืองหลาบพรรคที่ร่วมรัฐบาลต่างแย่งชิงผลประโยชน์ และเรียกร้องตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สนับสนุนรัฐบาล

วิกฤตการณ์และความขัดแย้งในสังคม

นอกจากปัญหาภายในรัฐบาลแล้ว ยังมีปัญหาและอุปสรรคที่เป็นความขัดแย้งนานัปการ เนื่อง-มาจากมีการแสดงออกซึ่งเสรีภาพต่างๆในรูปของการเรียกร้องความเป็นธรรม การชุมนุมการ ประท้วง การนัดหยุดงานบ่อยครั้ง เป็นต้น เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยนี้ได้แก่

  1. การประท้วงบริษัทเทมโก้ ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานขุดแร่ที่จังหวัดพังงา แนวน่วมพิทักษ์ทรัพยากรแห่ง ประเทศไทย และกลุ่มนิสิตนักศึกษามาร่วมกันประท้วงรัฐบาลให้ยกเลิกสัมปทานให้แก่บริษัทดังกล่าว โดยอ้างว่าเป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
  2. การต่อต้านสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะการตั้งฐานทัพและเรดาร์ในประเทศไทย นักศึกษากลุ่มต่างๆรวมตัวกันเพื่อให้รัฐบาลไทยตกลงกับสหรัฐอเมริกาดำเนินการถอนฐานทัพออกไปจากแผ่นดินไทย เพราะทำให้ประเทศเป็นฐานในการก่อสงครามและทำลายความสงบสุขของประเทศเพื่อนบ้าน
  3. การชุมนุมเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมของชาวไร่ชาวนาและผู้ใช้แรงงานซึ่งบีบบังคับให้รัฐบาลดำเนินการแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ เช่น หนี้สิน ราคาพืชผล ค่าแรง และปัญหาด้านกฎหมาย
  4. การสังหารผู้นำกลุ่มต่างๆที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์และอุดมการณ์ เช่น การเรียกร้องขอขึ้นค่าแรงจากผู้ประกอบการในบริษัทต่างๆ การเรียกร้องกรรมสิทธิ์ที่ทำกินของชาวไร่ชาวนา ผู้ทำการเรียกร้องถูกมองว่าฝักใฝ่ในเรื่องคอมมิวนิสต์

เนื่องจากพรรคร่างร่วมรัฐบาลนั้นขึ้นหลายพรรคการเมืองทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นึงเพียงพอ ดังนั้น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519