ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีนามเดิมว่า '''พระองค์เจ้าชายนวม''' <ref group=note>สันนิษฐานว่า พระนามมาจากคำว่า นวม (อ่านว่า นะวะมะ) ซึ่งมีความหมายว่า "ที่ ๙" </ref> ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่ พระสนมเอก ธิดาท่านขรัวยายทองอิน เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. 1170 ตรงกับวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351<ref name="ย้อนรอยวังหลวง"/> ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้นตามแบบฉบับของราชสำนักและผนวชเป็น[[สามเณร]] ได้รับการศึกษาในสำนัก[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส]] ณ [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] ทรงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้าน[[อักษรศาสตร์]] ทั้งอักขรวิธี[[ภาษาไทย]] [[อักษรเขมร]] และ[[ภาษาบาลี]] รวมทั้ง[[วรรณคดี]] วิชา[[โบราณคดี]]และราชประเพณี<ref name="200ปี">[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=169285&Newstype=1&template=1 จัดงาน200ปีกรมหลวงวงษาธิราชสนิท] dailynews.co.th</ref>
พพฟฟหกฟกฟกฟหกฟหกฟกหพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีนามเดิมว่า '''พระองค์เจ้าชายนวม''' <ref group=note>สันนิษฐานว่า พระนามมาจากคำว่า นวม (อ่านว่า นะวะมะ) ซึ่งมีความหมายว่า "ที่ ๙" </ref> ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่ พระสนมเอก ธิดาท่านขรัวยายทองอิน เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. 1170 ตรงกับวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351<ref name="ย้อนรอยวังหลวง"/> ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้นตามแบบฉบับของราชสำนักและผนวชเป็น[[สามเณร]] ได้รับการศึกษาในสำนัก[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส]] ณ [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] ทรงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้าน[[อักษรศาสตร์]] ทั้งอักขรวิธี[[ภาษาไทย]] [[อักษรเขมร]] และ[[ภาษาบาลี]] รวมทั้ง[[วรรณคดี]] วิชา[[โบราณคดี]]และราชประเพณี<ref name="200ปี">[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=169285&Newstype=1&template=1 จัดงาน200ปีกรมหลวงวงษาธิราชสนิท] dailynews.co.th</ref>


ต่อมาทรงเข้ารับราชการในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงกำกับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวิชาการแพทย์สมัยใหม่จาก[[มิชชันนารี]][[ชาวอเมริกัน]] <ref name="ย้อนรอยวังหลวง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร|ชื่อหนังสือ=ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ "วังหลวง"|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์ดอกหญ้า|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2549|ISBN=974-941-205-2|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=304}}</ref> โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น''กรมหมื่นวงศาสนิท''<ref>[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=3813&stissueid=2638&stcolcatid=2&stauthorid=13 กรมหลวงวงศาธิราชสนิท โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์] นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2638 ปีที่ 51 วันที่ 10 พฤษภาคม 2548</ref> เมื่อครั้นปี พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชปรารภ ถึงความเสื่อมโทรมของภาษาไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้านวม ทรงแต่งตำราภาษาไทยขึ้นใหม่ เพื่ออนุรักษ์ภาษาไทย พระนิพนธ์เรื่อง “จินดามณี เล่ม 2” ซึ่งทรงดัดแปลงจากตำราเดิมสมัยอยุธยา อธิบายหลักเกณฑ์ภาษาไทยให้เข้าใจง่ายกว่าเดิม<ref name="200ปี"/> ต่อมาในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น''กรมหลวงวงศาธิราชสนิท'' ทรงกำกับราชการมหาดไทย ว่าพระคลังสินค้า และเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ทรงเป็นเจ้านายหนึ่งในสี่พระองค์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหมายจะให้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์<ref name="ย้อนรอยวังหลวง"/>
ต่อมาทรงเข้ารับราชการในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงกำกับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวิชาการแพทย์สมัยใหม่จาก[[มิชชันนารี]][[ชาวอเมริกัน]] <ref name="ย้อนรอยวังหลวง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร|ชื่อหนังสือ=ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ "วังหลวง"|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์ดอกหญ้า|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2549|ISBN=974-941-205-2|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=304}}</ref> โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น''กรมหมื่นวงศาสนิท''<ref>[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=3813&stissueid=2638&stcolcatid=2&stauthorid=13 กรมหลวงวงศาธิราชสนิท โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์] นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2638 ปีที่ 51 วันที่ 10 พฤษภาคม 2548</ref> เมื่อครั้นปี พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชปรารภ ถึงความเสื่อมโทรมของภาษาไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้านวม ทรงแต่งตำราภาษาไทยขึ้นใหม่ เพื่ออนุรักษ์ภาษาไทย พระนิพนธ์เรื่อง “จินดามณี เล่ม 2” ซึ่งทรงดัดแปลงจากตำราเดิมสมัยอยุธยา อธิบายหลักเกณฑ์ภาษาไทยให้เข้าใจง่ายกว่าเดิม<ref name="200ปี"/> ต่อมาในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น''กรมหลวงวงศาธิราชสนิท'' ทรงกำกับราชการมหาดไทย ว่าพระคลังสินค้า และเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ทรงเป็นเจ้านายหนึ่งในสี่พระองค์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหมายจะให้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์<ref name="ย้อนรอยวังหลวง"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:23, 26 พฤษภาคม 2562

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
ไฟล์:กรมหลวงวงศาธิราชสนิท.jpg
ประสูติ9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351
สิ้นพระชนม์14 สิงหาคม พ.ศ. 2414
พระบุตร52 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระมารดาเจ้าจอมมารดาปรางใหญ่

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชบุตรลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย[1] ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ประวัติ

พพฟฟหกฟกฟกฟหกฟหกฟกหพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายนวม [note 1] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่ พระสนมเอก ธิดาท่านขรัวยายทองอิน เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. 1170 ตรงกับวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351[2] ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้นตามแบบฉบับของราชสำนักและผนวชเป็นสามเณร ได้รับการศึกษาในสำนักสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านอักษรศาสตร์ ทั้งอักขรวิธีภาษาไทย อักษรเขมร และภาษาบาลี รวมทั้งวรรณคดี วิชาโบราณคดีและราชประเพณี[3]

ต่อมาทรงเข้ารับราชการในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกำกับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวิชาการแพทย์สมัยใหม่จากมิชชันนารีชาวอเมริกัน [2] โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นกรมหมื่นวงศาสนิท[4] เมื่อครั้นปี พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชปรารภ ถึงความเสื่อมโทรมของภาษาไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้านวม ทรงแต่งตำราภาษาไทยขึ้นใหม่ เพื่ออนุรักษ์ภาษาไทย พระนิพนธ์เรื่อง “จินดามณี เล่ม 2” ซึ่งทรงดัดแปลงจากตำราเดิมสมัยอยุธยา อธิบายหลักเกณฑ์ภาษาไทยให้เข้าใจง่ายกว่าเดิม[3] ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็นกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ทรงกำกับราชการมหาดไทย ว่าพระคลังสินค้า และเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ทรงเป็นเจ้านายหนึ่งในสี่พระองค์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหมายจะให้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์[2]

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท สิ้นพระชนม์ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันพุธ เดือน 10 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะเมียโทศก ตรงกับวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414 สิริพระชันษา 63 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2414[5]

ในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอพระนาม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ในโครงการเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของ ยูเนสโก ด้านปราชญ์และกวี ประจำปี 2551-2552 ในวาระครบรอบ 200 ปีของการประสูติ องค์การยูเนสโกได้มีมติรับรองในการประชุมเมื่อวันที่ 18-23 ตุลาคม 2550 ที่กรุงปารีส [6]

พระโอรส-ธิดา

  1. หม่อมเจ้าหญิงวารี [5]
  2. หม่อมเจ้าหญิงบัว
  3. หม่อมเจ้าหญิงเม้า
  4. หม่อมเจ้าชายเทโพ
  5. หม่อมเจ้าชายจำรัส
  6. หม่อมเจ้าชายเจริญ (หม่อมเจ้าชายดำ) (พ.ศ. 2377 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2427)
  7. หม่อมเจ้าหญิงอรุณ
  8. หม่อมเจ้าหญิงลูกจัน
  9. หม่อมเจ้าหญิง
  10. หม่อมเจ้าหญิง
  11. หม่อมเจ้าชายเสือ (พ.ศ. 2388 -?)
  12. หม่อมเจ้าหญิงลูกอิน
  13. หม่อมเจ้าชายเผือก (หม่อมเจ้าชายหนูขาวเผือก)
  14. หม่อมเจ้าชายนุช
  15. หม่อมเจ้าหญิง
  16. หม่อมเจ้าชายท้วม
  17. หม่อมเจ้าชายสาย (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เสกสมรสกับ หม่อมเขียน ศศิสมิต
  18. หม่อมเจ้าชายสวาสดิ์ (? - 15 เมษายน พ.ศ. 2443) เสกสมรสกับหม่อมพลอย
  19. หม่อมเจ้าหญิงสนิท (หม่อมเจ้าหญิงสนิทถนอม) (พ.ศ. 2390 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2472) เสกสมรสกับ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์
  20. หม่อมเจ้าหญิงเกษร (? - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452)
  21. หม่อมเจ้าหญิงงาม (? - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2449)
  22. หม่อมเจ้าหญิงกระจ่าง (พ.ศ. 2391 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2475)
  23. หม่อมเจ้าหญิงกระลำภัก (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2468)
  24. หม่อมเจ้าหญิงผอบ (พ.ศ. 2402 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2463)
  25. หม่อมเจ้าหญิงเชย (หม่อมเจ้าหญิงอบเชย) (พ.ศ. 2402 - 28 เมษายน พ.ศ. 2467)
  26. หม่อมเจ้าหญิงชม (พ.ศ. 2402 - ?)
  27. หม่อมเจ้าหญิงชื่น (พ.ศ. 2402 - 10 เมษายน พ.ศ. 2439)
  28. หม่อมเจ้าหญิงอำพัน (พ.ศ. 2403 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2437)
  29. หม่อมเจ้าชายเจ้ง (หม่อมเจ้าชายเจง)
  30. หม่อมเจ้าหญิง
  31. หม่อมเจ้าชายเกด (พ.ศ. 2407 - 9 กันยายน พ.ศ. 2432)
  32. หม่อมเจ้าชายสะอาด
  33. หม่อมเจ้าชายพร้อม (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2411 - 20 กันยายน พ.ศ. 2482) เสกสมรสกับ หม่อมสะอาด กับหม่อมอีก 8 คน
  34. หม่อมเจ้าชายเปียก
  35. หม่อมเจ้าชายประวัติวงษ์ (พ.ศ. 2412 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2452)
  36. หม่อมเจ้าชายเล็ก (พ.ศ. 2413 - 28 กันยายน พ.ศ. 2445)
  37. หม่อมเจ้าชายตุ้ม (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช) (12 ธันวาคม พ.ศ. 2412 - 14 กันยายน พ.ศ. 2481)
  38. หม่อมเจ้าชายแฉ่ง
  39. หม่อมเจ้าชายรัสมี (? - 12 มกราคม พ.ศ. 2439)
  40. หม่อมเจ้าหญิงแพ
  41. หม่อมเจ้าหญิงสารภี (หม่อมเจ้าสารภี ชุมสาย) เสกสมรสกับหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม
  42. หม่อมเจ้าหญิงชมนาท (? - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2448)
  43. หม่อมเจ้าหญิงทองคำ
  44. หม่อมเจ้าหญิงละม้าย
  45. หม่อมเจ้าหญิงจันฑณเทศ
  46. หม่อมเจ้าหญิงกฤษณา
  47. หม่อมเจ้าหญิงถนอม
  48. หม่อมเจ้าชายจิ๋ว
  49. หม่อมเจ้าหญิงประภา
  50. หม่อมเจ้าหญิงประทุม
  51. หม่อมเจ้าชายเปลี่ยน
  52. หม่อมเจ้าหญิงกลาง

ราชตระกูล

พระราชตระกูลในสามรุ่นของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
พระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
พระอัครชายา (หยก)
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
พระชนกทอง
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
พระชนนีสั้น
พระชนนี:
เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่
พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านบุญเกิด
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านทองอิน
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านตาดี (ราชินีกุล ณ บางช้าง)
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล

เชิงอรรถ

  1. สันนิษฐานว่า พระนามมาจากคำว่า นวม (อ่านว่า นะวะมะ) ซึ่งมีความหมายว่า "ที่ ๙"

อ้างอิง

  1. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. ราชสกุลวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2554. 296 หน้า. หน้า 30. ISBN 978-974-417-594-6
  2. 2.0 2.1 2.2 กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ "วังหลวง". กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2549. 304 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-941-205-2
  3. 3.0 3.1 จัดงาน200ปีกรมหลวงวงษาธิราชสนิท dailynews.co.th
  4. กรมหลวงวงศาธิราชสนิท โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์ นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2638 ปีที่ 51 วันที่ 10 พฤษภาคม 2548
  5. 5.0 5.1 ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  6. ยูเนสโกยกย่องต้นราชสกุล สนิทวงศ์ เดลินิวส์ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550