ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
<gallery>
<gallery>
ไฟล์:Map-GermanConfederation.svg|The [[German Confederation]] in 1820. Territories of the [[Kingdom of Prussia|Prussian crown]] are blue, territories of the [[Austrian Empire|Austrian crown]] are yellow, and independent [[German Confederation]] states are grey. The red border shows the limits of the Confederation. Note that both Prussia and Austria controlled non-Confederation lands.
ไฟล์:Map-GermanConfederation.svg|The [[German Confederation]] in 1820. Territories of the [[Kingdom of Prussia|Prussian crown]] are blue, territories of the [[Austrian Empire|Austrian crown]] are yellow, and independent [[German Confederation]] states are grey. The red border shows the limits of the Confederation. Note that both Prussia and Austria controlled non-Confederation lands.
ไฟล์:NS administrative Gliederung 1944.png|Administrative division of Nazi Germany, following the [[Areas annexed by Nazi Germany|annexing of Austria, Sudetenland and others]] to form the Greater German Reich as of 1944.
ไฟล์:Greater Germanic Reich.png|Boundaries of the planned "[[Greater Germanic Reich]]" based on various, only partially systematised target projections (e.g. [[Generalplan Ost]]) from [[Nazi Germany|state administration]] and the [[Schutzstaffel|SS]] leadership sources.
ไฟล์:Greater Germanic Reich.png|Boundaries of the planned "[[Greater Germanic Reich]]" based on various, only partially systematised target projections (e.g. [[Generalplan Ost]]) from [[Nazi Germany|state administration]] and the [[Schutzstaffel|SS]] leadership sources.
</gallery>
</gallery>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:29, 12 พฤษภาคม 2562

A historical map of Europe showing an approximation of the 1937 ethnic situation in Central Europe.

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (อังกฤษ: Pan-Germanism) เป็นความคิดทางการเมืองอุดมการณ์รวมกลุ่มชาตินิยม (pan-nationalist) อย่างหนึ่ง นักอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันเดิมมุ่งรวมประชากรที่พูดภาษาเยอรมันในทวีปยุโรปในรัฐชาติเดียว ที่เรียกว่า กรอสส์ดอยท์ชลันด์ (มหาเยอรมนี)

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันมีอิทธิพลอย่างสูงในการเมืองเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างการรวมประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิเยอรมันถูกประกาศเป็นรัฐชาติใน ค.ศ. 1871 โดยปราศจากออสเตรีย (เยอรมนีน้อย)[1] ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักคิดอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันจำนวนมาก จัดตั้งสันนิบาตอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (Pan-German League) ตั้งแต่ ค.ศ. 1891 ได้รับอุดมการณ์ยึดชาติพันธุ์เป็นศูนย์กลาง (ethnocentric) และนิยมเชื้อชาติอย่างเปิดเผย และท้ายสุดได้ทำให้นโยบายต่างประเทศ "ไฮม์อินส์ไรช์" ที่นาซีเยอรมนีภายใต้การนำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ดำเนินตั้งแต่ ค.ศ. 1938 อันเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง[2][3][4][5] ผลจากภัยพิบัติแห่งสงครามทำให้อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันส่วนใหญ่ถูกมองว่าเป็นอุดมการณ์ต้องห้ามในสมัยหลังสงครามทั้งในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี ปัจจุบัน อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันจำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มนาซีใหม่ชายขอบบางกลุ่มในเยอรมนีและออสเตรีย

รูปภาพ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Timothy Kirk (8 August 2002). Nazism and the Working Class in Austria: Industrial Unrest and Political Dissent in the 'National Community'. Cambridge University Press. pp. 21–. ISBN 978-0-521-52269-4.
  2. "Pan-Germanism (German political movement) - Britannica Online Encyclopedia". Britannica.com. สืบค้นเมื่อ 2012-01-24.
  3. Origins and Political Character of Nazi Ideology Hajo Holborn Political Science Quarterly Vol. 79, No. 4 (Dec., 1964), p.550
  4. "Slik ble vi germanersvermere - magasinet". Dagbladet.no. สืบค้นเมื่อ 2012-01-24.
  5. Mees, Bernard (2008). The Science of the Swastika. Central European University Press. ISBN 978-963-9776-18-0. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)