ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามพิวรรธน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Usurainy (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับเนื้อหาให้เป็นปัจจุบัน
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
}}
}}


== เกี่ยวกับสยามพิวรรธน์ ==


'''บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด''' คือหนึ่งในบริษัทค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชั้นแนวหน้าของประเทศไทย มีวิสัยทัศน์ในการดำเนินธุรกิจที่มุ่งเสนอความแปลกใหม่ในการพัฒนาโครงการชั้นนำต่างๆให้เกิดขึ้นในประเทศด้วยความคิดสร้างสรรค์อย่างไม่หยุดนิ่ง  ปัจจุบันเป็นเจ้าของและบริหารกิจการศูนย์การค้าชั้นนำหลายแห่งใจกลางกรุงเทพมหานคร ได้แก่คร ได้แก่ [[สยามเซ็นเตอร์]] [[สยามดิสคัฟเวอรี่]] [[สยามพารากอน]] และ[[ไอคอนสยาม]]
'''บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด''' เป็นบริษัทธุรกิจค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของและบริหารกิจการศูนย์การค้าชั้นนำหลายแห่งใจกลางกรุงเทพมหานคร ได้แก่ [[สยามเซ็นเตอร์]] [[สยามดิสคัฟเวอรี่]] [[สยามพารากอน]] และ[[ไอคอนสยาม]]


== ประวัติความเป็นมา ==
== ประวัติ==
''บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด'' ก่อตั้งครั้งแรกในชื่อ ''บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด'' เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2502 เพื่อบริหารและพัฒนาที่ดินจำนวน 50 ไร่ บริเวณ[[ถนนพระรามที่ 1]] เพื่อก่อสร้างโรงแรมห้าดาวระดับนานาชาติแห่งแรกของไทย คือ โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล <ref>http://www.siampiwat.com/th/group/milestones</ref> โดยมี[[เฉลิมชัย จารุวัสตร์|พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์]] เป็นผู้ก่อตั้ง โดยเริ่มแรก[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นมองเห็นถึงประโยชน์ทางการท่องเที่ยวจากการเข้ามาสร้างโรงแรมของกลุ่มทุนต่างชาติ จึงอนุมัติเงินทุนจาก[[สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล]] รวมถึงทุนจากสถาบันการเงินขนาดใหญ่ในประเทศ เพื่อลงทุนในบริษัทดังกล่าว<ref>[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2763 42 ปี บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส]</ref> ต่อมา ชฎาทิพ จูตระกูล บุตรสาวของพลเอกเฉลิมชัย ได้รับช่วงต่อจากบิดาในการบริหารบริษัท
''บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด'' ชื่อเดิม คือบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด ซึ่งได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อบริษัทเมื่อวันที่  28 มกราคม 2546 เริ่มแรก บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส จำกัด ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2502 โดยมี[[เฉลิมชัย จารุวัสตร์|พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์]] เป็นผู้ก่อตั้ง (ขณะนั้นมียศพลตรี) โดยได้พัฒนาโรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล ซึ่งเป็นโรงแรมห้าดาวระดับนานาชาติแห่งแรกที่เปิดให้บริการในประเทศไทย และต่อมาได้ก่อสร้างสยามเซ็นเตอร์เป็นศูนย์การค้าระดับนานาชาติแห่งแรกของประเทศไทยและมีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในเวลานั้น ตามด้วยสยามดิสคัฟเวอรี่ ศูนย์การค้าซึ่งมีรูปลักษณ์ทันสมัยทั้งภายนอกและภายใน สยามทาวเวอร์ อาคารสูง 30 ชั้น ซึ่งให้เช่าเป็นสำนักงานของบริษัทฯ ต่างๆ รวมทั้งอาคารจอดรถสยาม ซึ่งเป็นอาคารจอดรถที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ ควบคุมการจอดรถด้วยระบบคอมพิวเตอร์เป็นแห่งแรกในประเทศไทย


หลังจากโรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัลได้ดำเนินกิจการมาเป็นเวลาถึง 35 ปี  บริษัทได้เห็นควรให้หยุดกิจการโรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล เพื่อทำการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด และก่อสร้างโครงการใหม่ทดแทน โรงแรมจึงได้ปิดกิจการเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 และได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด” ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2546
เมื่อโรงแรมดังกล่าวดำเนินการมาครบ 30 ปี บริษัทได้ดำริที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 หลังจากนั้นจึงดำเนินการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเดิมทั้งหมด และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น "บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด" ซึ่งเป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจาก[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2546 โดยพื้นที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]]


ตามข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า [[กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงพาณิชย์]] เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ผู้ถือหุ้นของสยามพิวรรธน์ ประกอบด้วย [[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์|บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน)]] ถือหุ้นใหญ่สุด 47.9771% กลุ่มบุคคลไม่เปิดเผยนาม 24.8523% [[ธนาคารกรุงเทพ]] 5.1943% [[ธนาคารกสิกรไทย]] 5.0969% นอกนั้นเป็นผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/71041-report01_71041.html ขุมข่ายธุรกิจ 'ไอคอนสยาม' แสนล.! หลังฉากการลงทุน 2 ยักษ์ใหญ่ 'สยามพิวรรธน์-ซีพี.']</ref> งานวิจัยเรื่อง "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับการลงทุนทางธุรกิจ" กล่าวว่า [[สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์]] เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นของบริษัท<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-40654502 เปิดงานวิจัย ความเป็นมา "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์"]</ref>
== วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ==
'''''สัญลักษณ์แห่งการนำเสนอความแปลกใหม่ให้ชีวิต'''''


== ธุรกิจของบริษัท==
ตลอดเวลาเกือบ 60 ปี สยามพิวรรธน์เป็นผู้พัฒนาธุรกิจค้าปลีกและอสังหาริมทรัพย์ระดับโลกชั้นนำ และเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำความคิดที่นำเสนอโครงการรูปแบบแปลกใหม่ไม่ซ้ำใครและสร้างบรรทัดฐานใหม่ให้แก่ธุรกิจค้าปลีกของประเทศเสมอมา พันธกิจของสยามพิวรรธน์คือการเป็นที่หนึ่งในการนำเสนอแนวคิดแปลกใหม่ล้ำยุคในโครงการของเรา เพื่อสร้างประสบการณ์เหนือชั้นที่สร้างแรงบันดาลใจให้ลูกค้าอยู่เสมอ ทุกโครงการของสยามพิวรรรธน์ล้วนมีส่วนยกระดับคุณภาพชีวิตชาวไทยทุกคน ยังความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศชาติ ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกมายังประเทศไทย รวมทั้งนำชื่อเสียงและความภาคภูมิใจมาสู่ชาวไทย
=== ศูนย์การค้า ===
==== วันสยาม ====
ในปี พ.ศ. 2561 สยามพิวรรธน์ได้เปิดตัวเครื่องหมายการค้า "วันสยาม" สำหรับเรียกกลุ่มธุรกิจศูนย์การค้าและอาคารสำนักงานของบริษัทที่ตั้งอยู่ในพื้นที่[[เขตปทุมวัน]] โดยประกอบด้วยสมาชิกดังนี้
* [[สยามเซ็นเตอร์]]
* [[สยามดิสคัฟเวอรี]]
* [[สยามพารากอน]] (ร่วมทุนกับ [[กลุ่มเดอะมอลล์]] ในนามบริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด)
==== ศูนย์การค้าอื่น ๆ ====
* [[ไอคอนสยาม]] (ร่วมทุนกับ[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] และแมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น ในนามบริษัท ไอคอนสยาม จำกัด)
* สยาม พรีเมียม เอาท์เล็ต แบงค็อก: อะ สยามพิวรรธน์ ไซมอน เซ็นเตอร์ (ร่วมทุนกับกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ไซมอน)


=== อาคารสำนักงาน ===
== เหตุการณ์สำคัญ ==
[[ไฟล์:Siam Piwat building.jpg|250px|thumb|อาคารสยามพิวรรธน์|right]]
{| class="wikitable"
'''อาคารสำนักงานสยามพิวรรธน์ทาวเวอร์''' เป็นอาคารสำนักงานสูง 30 ชั้น เชื่อมต่อกับอาคารสยามดิสคัฟเวอรี และอาคารจอดรถสยาม นอกจากเป็นที่ตั้งสำนักงานบริษัทแล้ว ยังเป็นที่ตั้งของ[[สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)]] อีกด้วย
|+
=== ธุรกิจค้าปลีก===
!พุทธศักราช
* บริษัท ดิสคัฟเวอรี่ รีเทล จำกัด - จัดจำหน่ายสินค้าในโซนโอเพนสเปซ (ดิสคัฟเวอรีแล็บ) ภายใน [[สยามดิสคัฟเวอรี]]
!เหตุการณ์สำคัญ
* บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับ[[กลุ่มเดอะมอลล์]] เพื่อดำเนินการ “พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์” ใน[[สยามพารากอน]]
|-
* บริษัท สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด (ชื่อเดิม บริษัท สยาม สเปเชีลลิตี้ จำกัด) - จัดจำหน่ายสินค้าในรูปแบบต่างๆ ได้แก่
|2502
** ลอฟท์
|พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์ (ขณะนั้นมียศพลตรี) ก่อตั้งบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส์ จำกัด
** เดอะ วันเดอร์ รูม
|-
** เดอะ ซีเล็คเต็ด
|2509
** จิน แอนด์ มิลค์
|โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล เปิดทำการเป็นโรงแรมห้าดาวระดับนานาชาติแห่งแรกของประเทศไทย และเป็นโครงการอสังหาริมทรัพย์แรกของบริษัท
** ออฟเจกต์ ออฟ ดีไซร์ สโตร์ (โอดีเอส)
|-
** แคช
|2516
** เพอร์-สูท
|สยามเซ็นเตอร์เปิดทำการเป็นศูนย์การค้ามาตรฐานนานาชาติแห่งแรกของประเทศไทยและนำธุรกิจศูนย์การค้ามาสู่วงการค้าปลีกในประเทศไทย
** อาแลง
|-
* บริษัท สยาม กูร์เมต์ โฮลดิ้ง จำกัด - บริหารร้านอาหารเจมีส์ อิตาเลียน และมาย คิทเช่น ในศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี
|2540
* บริษัท สยาม ทาคาชิมาย่า (ประเทศไทย) จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับกลุ่ม[[ทะกะชิมะยะ|ทาคาชิมาย่า]] เพื่อดำเนินการห้างสรรพสินค้าสยามทาคาชิมาย่า สาขาไอคอนสยาม
|สยามดิสคัฟเวอรี่เปิดทำการเป็นศูนย์การค้าไลฟ์สไตล์แห่งแรกของประเทศไทย ควบคู่กับอาคารสำนักงานระดับหรู สยามพิวรรธน์ทาวเวอร์
* บริษัท สยามพิวรรธน์-ไซม่อน จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับ[[:en:Simon Property Group|กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ไซมอน]] จากประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อดำเนินการศูนย์การค้าลักชูรี พรีเมียม เอาท์เล็ต จำนวน 3 แห่ง โดยหนึ่งในนั้นจะตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร<ref>[https://positioningmag.com/1173093 เดือดแน่ ! สยามพิวรรธน์ ควงไซมอน ผุดลักชัวรี่ พรีเมียมเอาท์เล็ท ประเดิมทำเลบางนาสาขาแรก]</ref><ref>[https://www.khaosod.co.th/economics/news_1174963 สยามพิวรรธน์ ลงขันไซม่อนกรุ๊ป ผุดลักชัวรี่พรีเมียมเอาต์เล็ต ตั้งเป้า 3 แห่งใน 3 ปีกว่าหมื่นล้าน]</ref>
|-
|2540       
|ลอฟท์ ร้านสเปเชียลตี้ชื่อดังจากญี่ปุ่น เปิดตัวเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่สยามดิสคัฟเวอรี่ สร้างกระแสตอบรับล้นหลาม นับแต่นั้นมา ลอฟท์ได้นำเสนอสินค้าในชีวิตประจำวันที่ทั้งแตกต่างและล้ำสมัยมากมายกว่า 100,000 รายการ
|-
|2545
|สยามพิวรรธน์ตัดสินใจปิดกิจการโรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัลหลังดำเนินกิจการมาได้ 35 ปี และรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดเพื่อเริ่มโครงการก่อสร้าง “ศูนย์การค้าสยามพารากอน”
|-
|2546
|สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี พระราชทานชื่อ “สยามพิวรรธน์” เป็นชื่อใหม่ให้แก่บริษัท
|-
|2548
|สยามพารากอนเปิดตัวในฐานะศูนย์การค้าระดับโลกแห่งแรกของประเทศไทยด้วยเงินลงทุนสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ณ ขณะนั้น และช่วยฟื้นฟูความมั่นใจให้แก่นักลงทุนต่างชาติให้กลับมาเชื่อมั่นในประเทศไทยท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ
|-
|2549
|รอยัล พารากอน ฮอลล์ เปิดทำการเป็นศูนย์การประชุมและแสดงนิทรรศการระดับโลกสำหรับงานทุกระดับ โดยตั้งอยู่บนชั้น 5 ของศูนย์การค้าสยามพารากอนกลางใจกรุงเทพฯ นับแต่นั้นมา รอยัล พารากอน ฮอลล์ ได้รับเลือกให้เป็นสถานที่จัดงานยิ่งใหญ่มากมายทั้งระดับชาติและระดับโลก และรองรับผู้มาเยือนกว่าหนึ่งล้านคนต่อปี
|-
|2556
|ตลอดเวลา 40 ปีที่ดำเนินกิจการ สยามเซ็นเตอร์ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ทันสมัยตามเทรนด์ที่เปลี่ยนไปและให้ตรงใจลูกค้าอยู่ตลอดเวลา ในปีพ.ศ. 2556 สยามเซ็นเตอร์ได้ปรับโฉมใหม่ทั้งหมดและเปิดตัวอีกครั้งภายใต้คอนเซ็ปต์สุดล้ำ ชื่อ “สยามเซ็นเตอร์ – เมืองแห่งไอเดียที่ล้ำเทรนด์” เพื่อเป็นสนามประลองจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ที่ซึ่งศิลปะ แฟชั่น เทคโนโลยี ไลฟ์สไตล์ มาบรรจบกัน สยามเซ็นเตอร์ภายใต้คอนเซ็ปต์ใหม่นี้ได้คว้ารางวัลระดับนานาชาติแล้วทั้งสิ้น 9 รางวัล
|-
|2557
|สยามพิวรรธน์เปิดตัวโลโก้ใหม่ของบริษัท อัตลักษณ์ใหม่ของบริษัทผสมผสานมรดกทางวัฒนธรรมอันรุ่มรวยเข้ากับความสร้างสรรค์ล้ำยุคร่วมสมัย
|-
|2558
|ด้วยประสบการณ์การบริหารจัดการอาคารที่สั่งสมกว่า 50 ปี สยามพิวรรธน์จึงเปิดตัว “สยามพิวรรธน์ อคาเดมี” สถาบันแรกในประเทศไทยที่รวบรวมทุกแง่มุมของการบริหารจัดการศูนย์การค้าและโครงการอสังหาริมทรัพย์มาแบ่งปันกับสู่ผู้ที่สนใจทั่วไป อีกทั้งยังร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย เพื่อนำเสนอหลักสูตรด้านการบริหารจัดการอาคารโดยเฉพาะเป็นที่แรกในประเทศไทย
|-
|2559
|สยามดิสคัฟเวอรี่เปิดทำการอีกครั้งในฐานะ “ดิ เอ็กซ์พลอราทอเรียม” ไลฟ์สไตล์ สเปเชียลตี้ สโตร์ แห่งแรกและแห่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โครงการนี้พาสยามพิวรรธน์ก้าวไปสู่อีกขั้นจากบทบาทผู้ค้าปลีกสู่ผู้บริหารประสบการณ์และอารมณ์ของผู้มาเยี่ยมเยือน ไม่ได้บริหารจัดการแต่เพียงสินค้า การจัดหมวดหมู่ หรือการจัดแสดงสินค้าเท่านั้น
|-
|2560
|สยามพิวรรธน์ขยายธุรกิจและก่อตั้งบริษัท สยาม กูร์เมต์ โฮลดิ้ง จำกัด ขึ้นเป็นบริษัทย่อยเพื่อดูแลธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ภายใต้การบริหารงานของสยาม กูร์เมต์ โฮลดิ้ง บริษัทได้เปิดตัวร้านอาหาร “เจมีส์ อิตาเลียน” สาขาแรกในประเทศไทยและ “มาย คิทเช่น” แหล่งพบปะสังสรรค์สุดฮิพใจกลางเมืองภายใต้คอนเซ็ปต์ “อีท มีท มิงเกิล” ที่สยามดิสคัฟเวอรี่
|-
|2561
|ไอคอนสยาม อภิอภิมหาโครงการเมืองสัญลักษณ์แห่งความรุ่งโรจน์ของไทยริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเปิดทำการ  โดยประกอบไปด้วยอาณาจักรศูนย์การค้าแห่งยุค 2 อาคาร คอนโดมิเนียมหรูสุดสง่างาม 2 อาคาร และ 7 สิ่งมหัศจรรย์ของไอคอนสยาม
|}


== ธุรกิจ==
=== ธุรกิจอื่นๆ ===
* บริษัท ซูพรีโม จำกัด บริษัทจัดการตลาดให้กับศูนย์การค้าในเครือ
* บริษัท ดิจิมีเดีย จำกัด บริษัทจัดการตลาดในสื่อออนไลน์
* [[รอยัลพารากอนฮอลล์]] ดำเนินการในนามบริษัท รอยัลพารากอน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
* บริษัท สยามโปรเฟสชั่นแนล แมเนจเม้นท์ จำกัด ดูแลการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ในเครือ
* บริษัท ซุปเปอร์ฟอร์ซ จำกัด บริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคารในเครือสยามพิวรรธน์


== อ้างอิง==
=== '''1. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์''' ===
สยามพิวรรธน์มุ่งพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ระดับโลกที่เป็นที่สุดแห่งความเป็นเลิศทั้งด้านการออกแบบ ก่อสร้าง และดำเนินการ  

* '''สยามเซ็นเตอร์'''

ในปีพ.ศ. 2516 สยามพิวรรธน์ได้เปิดตัวสยามเซ็นเตอร์ในฐานะศูนย์การค้ามาตรฐานระดับนานาชาติแห่งแรกของประเทศไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อบุกเบิกธุรกิจศูนย์การค้าให้เป็นที่รู้จักในวงการค้าปลีกของไทย  นับแต่นั้นเป็นต้นมา สยามเซ็นเตอร์ได้กลายเป็นศูนย์การค้าอันเป็นที่รักที่คนไทยทุกคนจะต้องมาเยี่ยมเยือน  อีกทั้งยังเป็นสถานที่แจ้งเกิดของนักออกแบบแฟชั่นชั้นแนวหน้าของเมืองไทยมากมายที่ล้วนแล้วเริ่มต้นเส้นทางอาชีพจากศูนย์การค้าแห่งนี้

ทั้งนี้ แม้จะเป็นศูนย์การค้าแห่งแรกและให้บริการมากว่าสี่ทศวรรษ แต่สยามเซ็นเตอร์ก็ยังคงเป็นแหล่งช้อปปิ้งที่ล้ำยุคที่สุดแห่งหนึ่งอย่างไร้ข้อกังขา เพราะได้ปรับปรุงเพื่อให้นำเทรนด์ใหม่ๆ และตอบโจทย์ตามความต้องการของผู้มาเยือนอยู่เสมอ ในปีพ.ศ. 2556 สยามเซ็นเตอร์ได้เปลี่ยนโฉมใหม่ทั้งหมดและเปิดทำการอีกครั้งในชื่อ “สยามเซ็นเตอร์ – เมืองแห่งไอเดียที่ล้ำเทรนด์” (Siam Center – The Ideaopolis) เพื่อเป็นสถานที่นำเสนอไอเดียยอดเยี่ยมใหม่ๆ ที่ทั้งศิลปะ แฟชั่น เทคโนโลยี ไลฟ์สไตล์ และความบันเทิง มาบรรจบและผสานกัน เกิดเป็นการช้อปปิ้งรูปแบบใหม่ที่ “มอบประสบการณ์หลากหลายและเป็นพื้นที่ให้ผู้มาเยือนได้รับแรงบันดาลใจ ความตื่นเต้น และความสนุกสนานเพลิดเพลิน”

* '''สยามดิสคัฟเวอรี่'''

สยามดิสคัฟเวอรี่เปิดตัวในปีพ.ศ. 2540 นับเป็นการนำเสนอจุดหมายปลายทางด้านไลฟ์สไตล์สำหรับชาวเมืองแห่งแรกของกรุงเทพมหานคร โดยคอนเซ็ปต์ล้ำยุคไม่ซ้ำใครด้วยร้านค้าที่หาที่ไหนไม่ได้ แหล่งบันเทิง และร้านความงามและแฟชั่นทันสมัยชื่อดัง

ในปีพ.ศ. 2558 หลังเปิดทำการมาได้ 18 ปี สยามดิสคัฟเวอรี่ได้ปิดทำการเพื่อปรับปรุงพลิกโฉมครั้งใหญ่เพื่อคงความเป็นผู้นำเทรนด์ และเปิดตัวอีกครั้งในฐานะ “ดิ เอ็กซ์พลอราทอเรียม” สนามทดลองพลังอำนาจแห่งความคิดสร้างสรรค์ โดยเปิดตัวรูปลักษณ์ใหม่ให้ผู้มาเยือนได้ตื่นตะลึงเมื่อเดือนพฤษภาคม 2559 และนับเป็นไฮบริดรีเทลสโตร์แห่งแรกของประเทศไทย  ในพื้นที่ใช้สอย 40,000 ตารางเมตรนี้ได้รวบรวมสินค้าด้านไลฟ์สไตล์มากถึง 10,000 แบรนด์มานำเสนอไว้ภายใต้คอนเซ็ปต์เดียวร่วมกัน โดยมีลูกค้าเป็นศูนย์กลางแทนทีจะยึดแบรนด์เป็นหลัก

* '''สยามพิวรรธน์ทาวเวอร์'''

อาคารสยามพิวรรธน์ทาวเวอร์ เป็นอาคารสำนักงานระดับเอ็กซ์คลูซีฟสูง 30 ชั้น ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร เหนือศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี่ เป็นอาคารสำนักงานเกรดเอที่โดดเด่นด้วยทำเลใจกลางย่านช้อปปิ้งชั้นแนวหน้าและเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอสสองสาย จึงดึงดูดผู้เช่าที่เป็นบริษัทชั้นนำขนาดใหญ่จากต่างประเทศที่ชื่นชอบมาตรฐานระดับโลกของอาคารแห่งนี้ รวมไปถึงร้านอาหารและแหล่งช้อปปิ้งที่ทั้งสะดวกและมีให้เลือกหลากหลายภายในสยามดิฟคัฟเวอรี่ สยามเซ็นเตอร์ และสยามพารากอน

* '''สยามพารากอน'''

สยามพารากอนเป็นศูนย์การค้าระดับโลกแห่งแรกและแห่งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่ได้กลายเป็นตำนานและเป็นสถานที่ต้องมาเยี่ยมเยือนสำหรับชาวไทยและชาวต่างชาติ สยามพารากอนมีผู้มาเยือนต่อปีหลายล้านคนและได้รับตำแหน่งสถานที่ที่มีคนถ่ายภาพมากที่สุดในโลกอยู่เสมอๆ

ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจปีพ.ศ. 2548  สยามพารากอนเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ด้วยเงินลงทุนถึงกว่า 15,000 ล้านบาท นับเป็นเงินลงทุนโดยภาคเอกชนที่สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ของประเทศไทยในเวลานั้น ซึ่งช่วยฟื้นฟูความมั่นใจของนักลงทุนต่างชาติต่อประเทศไทยได้อย่างมหาศาล  นับแต่นั้นมา สยามพารากอนได้กลายเป็นศูนย์กลางการใช้ในชีวิตยุคใหม่ของกรุงเทพฯ ที่ไม่มีใครทัดเทียม โดยได้รวบรวมร้านค้า แหล่งบันเทิงและท่องเที่ยว และร้านอาหารระดับโลก มากมายไว้ด้วยกันและนำเสนอผ่านประสบการณ์เต็มรูปแบบที่ไม่ซ้ำใคร นักช้อปทั้งชาวไทยและต่างประเทศจึงโหวตให้สยามพารากอนเป็นแหล่งช้อปปิ้งในดวงใจมาโดยตลอด ส่วนผู้ค้าเองก็รายงานว่ามียอดขายและอัตราการเติบโตโดดเด่นที่สุดในภูมิภาค

ศูนย์การค้า สยามพารากอน บริหารงานโดย บริษัท [[สยามพิวรรธน์]] จำกัด ร่วมกับ บริษัท [[กลุ่มเดอะมอลล์|เดอะมอลล์กรุ๊ป]] จำกัด ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด

* '''ไอคอนสยาม'''

ไอคอนสยามเป็นโครงการลงทุนของภาคเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยความร่วมมือของ [[สยามพิวรรธน์]] [[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] และแมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น มีมูลค่าการลงทุนถึง 55,000 ล้านบาท เพื่อเนรมิตจุดหมายปลายทางใหม่ของประเทศไทยบนแม่น้ำเจ้าพระยา และนำเสนอความรุ่งโรจน์ของประเทศ พื้นที่โครงการประกอบด้วย ศูนย์การค้า คอนโดมีเนียมระดับโลกที่หรูหราสง่างาม และสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้ง 7 โดยได้รับการขนานนามให้เป็น “7 สิ่งมหัศจรรย์แห่งไอคอนสยาม” ไอคอนสยามจะเป็นสถานที่ที่รวบรวมเอาสิ่งที่ดีที่สุดของโลก กับสิ่งที่ดีที่สุดของไทยเข้าไว้ด้วยกัน และมุ่งหมายที่จะเป็นจุดหมายปลายทางที่น่าตื่นเต้นอลังการที่สุดแห่งหนึ่งในโลก

ไอคอนสยามเป็นโครงการที่รวบรวม “ครั้งแรก” และ “ที่สุด” ไว้มากมาย นับว่าไม่มีสิ่งปลูกสร้างอื่นใดในประเทศที่จะรวบรวมสิ่งที่เป็นระดับโลกได้มากมายเท่านี้ อีกทั้งในจำนวนนี้ยังมีหลายสิ่งที่สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกไม่ใช่แต่เพียงในประเทศไทย แต่เป็นในเอเชียด้วย ไอคอนสยามมุ่งสร้างจุดหมายปลายทางที่น่าตื่นตาตื่นใจที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ ยกระดับความคาดหวังของนักท่องเที่ยวต่อสิ่งที่มาจากประเทศไทย และยกระดับแบรนด์ของประเทศไทยให้ยืนบนเวทีโลกได้อย่างสง่างาม

=== '''2. ธุรกิจห้างสรรพสินค้า''' ===
สยามพิวรรธน์จับมือกับบริษัทสามแห่งทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เพียบพร้อมด้วยประสบการณ์เพื่อพัฒนาธุรกิจห้างสรรพสินค้าในศูนย์การค้าสามแห่ง

* '''พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์''' '''สยามพารากอน'''

ด้วยพื้นที่รวม 80,000 ตารางเมตร พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์เป็นห้างสรรพสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีสยามพิวรรธน์ และ เดอะ มอลล์ กรุ๊ป เป็นเจ้าของและดำเนินงานร่วมกัน  พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์มุ่งรองรับกลุ่มลูกค้าระดับสูงและเป็นที่เลื่องลือด้านสินค้าเอ็กซ์คลูซีฟที่มีให้เลือกหลากหลายครบครันทุกประเภท นำเสนอไว้เป็นสัดส่วนให้เลือกซื้อสะดวก พร้อมด้วยบริการระดับยอดเยี่ยม

จุดเด่นของห้างได้แก่ “'''กูร์เม่ต์ มาร์เก็ต'''” ที่คัดอาหารจากทั่วทุกมุมโลกมาให้เลือกสรร “'''ชูส์ แอนด์ แบ็ก''' ซาลอน” ซึ่งรวบรวมรองเท้าและกระเป๋าจาก 90 แบรนด์ดังทั่วโลก “'''พารากอน เวนิว'''” ที่นำเสนอแบรนด์แฟชั่นชั้นนำของโลกและแบรนด์ดีไซเนอร์ไทยที่เป็นที่หมายปองกว่า 100 แบรนด์ “'''บี เทรนด์'''” ซึ่งมาพร้อมกับเครื่องเขียนล้ำเทรนด์ อุปกรณ์ไฮเทคล่าสุด หนังสือ นิตยสาร และ ของเล่น “'''พาวเวอร์มอลล์'''” และ “'''พารากอน ลิฟวิ่ง'''” ซึ่งรวบรวมเทคโนโลยีสุดล้ำ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์และเครื่องใช้ภายในบ้านชั้นนำ มาไว้อย่างครบครัน

* '''ทาคาชิมาย่า ไอคอนสยาม'''

เนื่องด้วยสยามพิวรรธน์กำลังขยายธุรกิจห้างสรรพสินค้า บริษัท ไอคอนสยาม จำกัด ในเครือจึงได้จับมือกับห้างสรรพสินค้า พรีเมี่ยมสัญชาติญี่ปุ่น “ทาคาชิมาย่า” เพื่อสร้างห้างสรรพสินค้าทาคาชิมาย่าแห่งแรกในประเทศไทยในไอคอนสยาม เพื่อเป็นห้างค้าปลีกหลักของแลนด์มาร์คระดับชาติแห่งนี้

ห้างสรรพสินค้าทาคาชิยาม่าแห่งใหม่นี้ก่อสร้างด้วยงบลงทุน 3,000 ล้านบาท โดย 1,800 ล้านบาทในจำนวนนี้เป็นค่าก่อสร้าง โดยได้สร้างกระแสความตื่นเต้นได้อย่างมหาศาลเพราะเพียบพร้อมด้วยสินค้าใหม่หลากหลายให้ผู้บริโภคชาวไทยได้เลือกสรร อีกทั้งยังจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของกรุงเทพมหานครที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวที่คุ้นชินดีกับแบรนด์ทาคาชิมาย่าและสารพัดสินค้าเอ็กซ์คลูซีฟที่ห้างสรรพสินค้านี้คัดสรรมานำเสนอ

==='''3. ธุรกิจค้าปลีก Specialty'''===
สยามพิวรรธน์ก่อตั้ง บริษัท สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ขึ้นเป็นหน่วยธุรกิจค้าปลีกโดยเฉพาะ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสร้างรูปแบบการค้าปลีกสุดล้ำและมุ่งนำเสนอสินค้าเฉพาะทางที่น่าตื่นตาตื่นใจล่าสุดแด่ลูกค้ากลุ่มพิเศษของสยามพิวรรธน์ อีกทั้งยังมุ่งเปิดโอกาสตลาดสินค้าเฉพาะทางและสร้างความตื่นเต้นและแตกต่างให้กับศูนย์การค้าของสยามพิวรรธน์

* '''Loft'''

ลอฟท์ เป็นร้านสเปเชียลตี้สโตร์สัญชาติญี่ปุ่นที่มีต้นกำเนิดในชิบูย่า ซึ่งเป็นย่านที่ทันสมัยล้ำเทรนด์ที่สุดในโตเกียว เปิดตัวครั้งแรกในเมืองไทยอย่างยิ่งใหญ่ในปีพ.ศ. 2540 โดยเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวที่ได้รับอนุญาตให้เปิดนอกญี่ปุ่น

ด้วยฐานลูกค้าเหนียวแน่น ลอฟท์ได้กลายเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่เหมือนใครในตลาดกรุงเทพฯ ขณะนี้ สยามพิวรรธน์ดำเนินงานลอฟท์ทั้งสิ้นห้าสาขาในกรุงเทพมหานคร ในศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี่ พาราไดซ์ พาร์ค สเปลล์ แอท ฟิวเจอร์พาร์ค เมกะบางนา และไอคอนสยาม

* '''The Selected'''

The Selected คือไลฟ์สไตล์มัลติแบรนด์สโตร์ในสยามเซ็นเตอร์ที่รวบรวมทุกสิ่งที่เป็นความพิเศษของสยามเซ็นเตอร์ ตั้งแต่ศิลปะ แฟชั่น ไลฟ์สไตล์ ดนตรี ไปจนถึงเทคโนโลยีและคอนเซ็ปต์แอบโซลูทสยาม The Selected นำเสนอแบรนด์ต่างประเทศที่คัดสรรมาอย่างพิถีพิถัน รวมไปถึงแบรนด์ไทยที่มีชื่อเสียงระดับโลกแต่ไม่เคยวางผลิตภัณฑ์ในประเทศไทยมาก่อน รวมทั้งสิ้นกว่า 100 แบรนด์ ซึ่งล้วนเป็นสุดยอดของความคิดสร้างสรรค์ ความล้ำสมัย และแรงบันดาลใจ ทำให้ The Selected เข้ากับไลฟ์สไตล์ของชาวเมืองผู้รักศิลปะและผลิตภัณฑ์เฉพาะทางอย่างลงตัวที่สุด

* '''The Wonder Room'''

The Wonder Room เป็นแฟชั่นมัลติแบรนด์สโตร์ในสยามเซ็นเตอร์ที่เปิดโอกาสให้ดีไซเนอร์ไทยรุ่นใหม่ที่กำลังมาแรงได้นำผลงานมาจัดแสดงและจำหน่าย แต่ละซีซั่น The Wonder Room จะหยิบเทรนด์แฟชั่นโลกที่ถูกใจชาวไทยและเลือกดีไซเนอร์ไทย 20 คนให้มาแสดงผลงานแบรนด์ของตนเอง โดยมีธีมที่ต่างกันไปในแต่ละครั้ง  The Wonder Room ภายใต้การจัดการระดับมืออาชีพของสยามพิวรรธน์ มุ่งสนับสนุนให้มีการพัฒนาแบรนด์แฟชั่นใหม่ๆ และสนับสนุนดีไซเนอร์ไทยที่กำลังมาแรง

* '''ODS'''

ODS (Objects of Desire Store) เป็นร้านของตกแต่งบ้านมัลติแบรนด์ภายในสยามดิสคัฟเวอรี่ที่รวบรวมสินค้าตกแต่งบ้านที่ชนะรางวัลต่างๆ มานำเสนอ แบบที่ไม่ซ้ำใครและยังใช้สอยได้จริงอีกด้วย สยามดิสคัฟเวอรี่ได้ร่วมมือกับกรมการค้าระหว่างประเทศเพื่อคัดสรรผลิตภัณฑ์และงานออกแบบที่โดดเด่นของดีไซเนอร์ที่ชนะรางวัลมาแล้วรวมกว่า 130 แบรนด์ มาจัดแสดงในพื้นที่ 600 ตารางเมตร รับรองว่าแต่ละชิ้นจะสามารถสะท้อนรสนิยมด้านดีไซน์ของเจ้าของได้เป็นที่น่าพอใจแน่นอน

* '''CAZH'''

CAZH เป็นร้านเครื่องแต่งกายลำลองมัลติแบรนด์ในสยามดิสคัฟเวอรี่ที่ติดตามเทรนด์สตรีทคัลเจอร์ทั่วโลกมานำเสนอ โดยบรรจงคัดสรรเสื้อผ้าแฟชั่นลำลองและแนวสตรีทที่ใส่ได้ทั้งทุกเพศโดยดีไซเนอร์ชั้นนำทั้งจากแบรนด์ไทยและต่างประเทศมาให้รวบรวมไว้ให้ผู้ที่ต้องการแต่งกายสบายๆ ไม่สนใจความคาดหวังของสังคม อีกทั้งยังนำเทรนด์การปรับแต่งผลิตภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่ซ้ำใครด้วยบริการตัดยีนส์และรองเท้าพิเศษตามความต้องการของลูกค้า

* '''PUR∙SUIT'''

PUR∙SUIT เป็นร้านเสื้อผ้าบุรุษกึ่งทางการมัลติแบรนด์ในสยามดิสคัฟเวอรี่ที่นำเสนอผลิตภัณฑ์แฟชั่นและสูทสั่งตัดโดยช่างมืออาชีพที่มีประสบการณ์ สำหรับสุภาพบุรุษที่มองหาสินค้าแฟชั่นคุณภาพที่แฝงความเท่เพื่อแสดงตัวตนในแบบที่เป็นคุณ

* '''ALAND'''

ALAND เป็นไลฟ์สไตล์สโตร์แอนด์คัลเจอร์สเปซ (Lifestyle Store & Culture Space) ชื่อดังจากประเทศเกาหลี โดยเปิดสาขาแรกและสาขาเดียวในประเทศไทยที่ สยามเซ็นเตอร์ และเป็นร้านมัลติแบรนด์ที่รวบรวมทั้งแฟชั่นไอเท็มและไลฟ์สไตล์เกาหลีที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่คัดสรรสินค้าแฟชั่นครบประเภทจากดีไซเนอร์หน้าใหม่ในเกาหลีตั้งแต่เสื้อผ้าแฟชั่น แอคเซสเซอรี่ บิวตี้ และสินค้าไลฟ์สไตล์มากมายสำหรับผู้หญิงและผู้ชาย

* '''Absolute Siam Store'''

"Absolute Siam Store" ตั้งอยู่ ณ ชั้น 1 สยามเซ็นเตอร์ เมืองแห่งไอเดียที่ล้ำเทรนด์ เป็นศูนย์รวมสินค้าแฟชั่นไลฟ์สไตล์ ภายใต้ไอเดียไทยดีไซน์เนอร์ มีจุดเด่น คือ    คอลเลคชั่นเสื้อผ้า สินค้าแฟชั่นและของที่ระลึกต่างๆ ที่สร้างสรรค์ครีเอทด้วยดีไซน์แปลกใหม่จากการร่วมคอลลาบอเรชั่นระหว่างแบรนด์ไทยดีไซน์เนอร์ชื่อดัง หรือสินค้า Exclusive แบบไม่เคยมีมาก่อน ป็นศูนย์รวมของแฟชั่น ศิลปะ เทคโนโลยี และไลฟ์สไตล์ที่โดดเด่นของ 18 แบรนด์ชั้นนำที่สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนนำเสนอความแปลกใหม่ไม่ซ้ำใคร  สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้คน รวมถึงเป็นเทรนด์เซ็ตเตอร์ ในการนำเสนอไอเดีย และดีไซน์ใหม่ๆ

===='''อาหารและเครื่องดื่ม'''====
สยามพิวรรธน์ได้ขยายธุรกิจและก่อตั้งบริษัท สยาม กูร์เม่ต์ โฮลดิ้ง จำกัด ขึ้นเป็นบริษัทย่อยเพื่อดูแลการคัดสรร ลงทุน สร้าง และดำเนินการค้าปลีกอาหารชั้นเลิศและคอนเซ็ปต์อาหารและเครื่องดื่มให้แก่สยามพิวรรธน์ สยามพิวรรธน์มุ่งเน้นคอนเซ็ปต์ด้านอาหารที่แปลกใหม่และน่าตื่นเต้นเพื่อมอบสุดยอดประสบการณ์ที่สอดรับกับสินค้าและบริการอื่นๆ ของศูนย์การค้าให้แก่ลูกค้า ส่วนด้านอาหารและเครื่องดื่ม สยามพิวรรธน์มองหาแบรนด์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกที่ระดับราคาต่างๆ กัน เพื่อมอบทางเลือกที่แตกต่างและดีกว่าที่มีอยู่ในตลาดในปัจจุบันให้แก่ลูกค้า

* '''Jamie’s Italian'''

เจมีส์ อิตาเลียน สาขาแรกในประเทศไทยตั้งอยู่ในสยามดิสคัฟเวอรี่ มาพร้อมอาหารอิตาเลียนคลาสสิกอร่อยล้ำตามแบบฉบับเจมี่ ปรุงด้วยวัตถุดิบชั้นเลิศที่คัดสรรจากแหล่งที่ยั่งยืนในราคาเป็นกันเอง อีกทั้งยังประสานงานกับเกษตรกรและผู้จัดหาวัตถุดิบชาวไทยอย่างใกล้ชิดเพื่อนำผลิตผลท้องถิ่นจากแหล่งที่ยั่งยืนมาใช้ทำอาหารที่สาขานี้อีกด้วย

ผู้ที่มารับประทานอาหารทุกท่านจะได้เพลิดเพลินกับอาหารเลิศรสคุณภาพดีคุ้มราคา ในบรรยากาศอบอุ่น พร้อมด้วยบริการที่เป็นมิตรและเข้าถึงได้

* '''My Kitchen'''

มาย คิทเช่น เป็นแหล่งพบปะสังสรรค์สุดฮิพใจกลางเมืองภายใต้คอนเซ็ปต์ “อีท มีท มิงเกิล” ที่ออกแบบมาเพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนยุคมิลเลียนเนียลเพื่อให้ได้ประสบการณ์การรับประทานอาหารเพื่อพบปะสังสรรค์ โดยเนรมิตพื้นที่บนชั้น 4 ของ สยามดิสคัฟเวอรี่ ให้กลายเป็นแหล่งพบปะสำหรับผู้รักอาหารที่มีไลฟ์สไตล์ในแบบฉบับของตนเอง ผสานนวัตกรรมดิจิตอลที่สร้างบรรยากาศให้มื้ออาหารอิ่มเอมและสนุกสนานมากยิ่งขึ้น

=== '''4. การสื่อสารการตลาด''' ===
สยามพิวรรธน์ตระหนักดีถึงความสำคัญของการตลาดและการสื่อสารการตลาดต่อความสำเร็จของโครงการอสังหาริมทรัพย์ จึงได้ตั้ง บริษัท ซูพรีโม จำกัด ขึ้นเป็นบริษัทย่อยเพื่อดูแลผู้เช่าและโครงการอสังหาริมทรัพย์เต็มเวลา

ด้วยพนักงานกว่า 100 คน พร้อมด้วยความสามารถด้านบริการการตลาดที่ครบครัน ซูพรีโมมองการตลาด ประชาสัมพันธ์ และงานอีเว้นท์ต่างๆ ในระดับโลก ด้วยแนวคิดที่ว่า “โลกช้อปกับเรา และเราสื่อสารกับทั้งโลก”

ความคิดสร้างสรรค์ไม่ซ้ำใครระดับโลกเป็นจุดเด่นในงานทั้งหมดของซูพรีโม และได้แสดงให้โลกประจักษ์ในงานต่างๆ เช่น งานเปิดตัวสยามเซ็นเตอร์สุดอลังการที่ขึ้นพาดหัวข่าวทั่วเอเชีย รวมไปถึง “การสร้างต้นคริสต์มาสมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุด” และ ”การรวมตัวของเอลฟ์ผู้ช่วยซานต้าที่ยิ่งใหญ่ที่สุด” ที่ได้จารึกลงบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ในปีพ.ศ. 2556 และ 2557

ซูพรีโมเป็นผู้นำด้านการนำเทคโนโลยีการตลาดล้ำยุคอันทรงพลังมาใช้กับโครงการอสังหาริมทรัพย์ของสยามพิวรรธน์ ในสยามเซ็นเตอร์ ได้มีการติดตั้งจอแอลอีดี 500 จอเพื่อเป็นสื่อที่ใช้สื่อสารกับลูกค้าที่แปลกใหม่และเป็นพื้นที่ให้ผู้ค้าได้แสดงความเป็นตนเองด้วยวิธีไม่ซ้ำใคร อีกทั้งยังมีตู้ลองเสื้อผ้าดิจิทัลที่ช่วยลูกค้าเลือกสไตล์แฟชั่น นับเป็นหนึ่งในสิ่งที่เป็นที่นิยมที่สุดภายในสยามเซ็นเตอร์

ซูพรีโมมีบริการครบครัน ตั้งแต่รายการส่งเสริมธุรกิจ ประชาสัมพันธ์ โฆษณา การวางแผนสื่อ และการตลาดทั้งออนไลน์และโดยตรง โดยเริ่มจากความเข้าใจและคอมเมนต์จากนักช้อป ก่อนเริ่มวางแผนและปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนยอดขายด้วยความคิดสร้างล้ำยุคที่เข้าถึงผู้บริโภค ทั้งหมดนี้ล้วนสร้างขึ้นให้สอดรับกับเป้าหมายหลักของสยามพิวรรธน์ นั่นคือการสร้างสภาพแวดล้อมค้าปลีกที่เข้าถึงนักช้อปและสร้างยอดขายสูงสุดให้แก่ผู้เช่า

=== '''5. ธุรกิจบริหารจัดการศูนย์การประชุมและศูนย์แสดงนิทรรศการ''' ===
สยามพิวรรธน์มุ่งเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย ด้วยการนำเสนอไอเดียและแรงบันดาลใจให้แก่ลูกค้าและพันธมิตรทางธุรกิจ โดยไม่ประนีประนอมกับมาตรฐานการบริการ เพื่อเนรมิตปรากฏการณ์พิเศษสุดแก่ผู้มาเยี่ยมเยือนในทุกอีเว้นท์

* '''Royal Paragon Hall'''

รอยัล พารากอน ฮอลล์ คือศูนย์การประชุมและศูนย์แสดงนิทรรศการชั้นนำ ดำเนินงานโดย บริษัท รอยัล พารากอน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของสยามพิวรรธน์ ตั้งอยู่บนสยามพารากอน ซึ่งเป็นศูนย์การค้าสุดหรูของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งยังเดินทางมาได้โดยสะดวกเพราะเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสถานีสยาม รอยัล พารากอน ฮอลล์ จึงถูกจับจองเป็นสถานที่จัดงาน คอนเสิร์ต นิทรรศการ และงานประชุมที่น่าตื่นตาตื่นใจตลอดทั้งปี

ศูนย์การประชุมและศูนย์แสดงนิทรรศการแห่งนี้ครอบคลุมพื้นที่ 12,000 ตารางเมตร ประกอบด้วยโถงนิทรรศการ 3 ห้อง ขนาดเฉลี่ย 2,000 ตารางเมตร ห้องประชุม 6 ห้อง และห้องวีไอพี 1 ห้อง ทุกห้องล้วนติดตั้งเทคโนโลยีล่าสุด อาทิ ระบบเสียงดิจิทัลที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ (ซาวนด์ เวฟ บลู 80) ไอพีโฟนที่ใช้โทรศัพท์และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้พร้อมกัน อุปกรณ์แสงเสียงระดับมืออาชีพ พร้อมด้วยทีมงานมืออาชีพที่พร้อมสร้างสรรค์ทุกงานให้ประสบความสำเร็จสูงสุด

* '''TRUE ICON Hall'''

ด้วยเงินลงทุนมูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท ทรู ไอคอน ฮอลล์ จะมีพื้นที่ 12,000 ตารางเมตรและจุคนได้ 3,000 ที่นั่ง ศูนย์การประชุมแห่งนี้จะตั้งอยู่ที่ชั้น 7 และชั้น 7M ของไอคอนสยามและมองเห็นทัศนียภาพอันงดงามของแม่น้ำเจ้าพระยาเบื้องล่าง และจะเป็นสถานที่จัดงานระดับโลกสำหรับงานประชุมและการแสดงนานาชาติที่เพียบพร้อมด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยที่สุด

=== '''6. การบริหารจัดการอาคาร''' ===
บริษัท สยามโปรเฟสชั่นแนล แมเนจเม้นท์ จำกัด เป็นบริษัทย่อยของสยามพิวรรธน์และบริษัทบริหารจัดการอาคารระดับโลกที่ให้บริการชั้นเลิศแก่อาคารทุกประเภท

สยามโปรเฟสชั่นแนล แมเนจเม้นท์ ดำเนินงานโดยทีมงานมืออาชีพที่เพียบพร้อมด้วยประสบการณ์กับปฏิบัติการที่ท้าทายและซับซ้อนที่สุด โดยมุ่งเพิ่มผลิตภาวะของอสังหาริมทรัพย์ ปรับค่าดำเนินงานให้เหมาะสมที่สุด ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัย และบริหารจัดการให้ผู้เช่าพึงพอใจ

ทีมงานสยามโปรเฟสชั่นแนล แมเนจเม้นท์เป็นผู้นำความล้ำยุคในธุรกิจการบริหารจัดการอาคารในประเทศและเป็นผู้นำเสนอคอนเซ็ปต์ โครงสร้างองค์กร และวิธีการทำงานใหม่ๆ ที่ได้รับการยึดเป็นแบบอย่างทั่วทั้งวงการในประเทศไทย

ทีมงานของบริษัทเพียบพร้อมด้วยเครื่องมือการฝึกอบรมที่โดดเด่นเพื่อผลิตพนักงานที่ไว้วางใจได้สำหรับการปฏิบัติการทุกระดับ

นอกจากนั้น บริษัทยังมีบริการพัฒนาบุคลากรสำหรับลูกค้าที่กำลังปรับโครงสร้างหรือสรรหาพนักงานอีกด้วย

== รางวัลและการรับรอง ==
{| class="wikitable"
|+
! colspan="2" |สยามเซ็นเตอร์
|-
!'''พ.ศ.'''
!'''รางวัล'''
|-
|2558
|VIVA (Vision-Innovation-Value-Achievement) Award Honoree for Design & Development โดย International Council of Shopping Centers (ICSC)
|-
|2558
|The Best of Thailand Award Voted by Chinese Tourists โดย Tourism Authority of Thailand (TAT)
|-
|2557
|VIVA Best-of-the-Best Award Honoree for Marketing โดย International Council of Shopping Centers (ICSC)
|-
|2557
|Award Winner for Renovation Expansion of an Existing Project โดย International Council of Shopping Centers (ICSC)
|-
|2556
|Best Commercial Renovation/ Redevelopment Thailand โดย Asia Pacific Property Awards
|-
|2556
|Top 10 Best Retail Store Design in Asia โดย Retail Asia Expo
|-
|2556
|Asia Pacific Shopping Center Gold Award Winner "Marketing Positioning" โดย International Council of Shopping Centers (ICSC)
|-
|2556
|No.1 of Top 10 Most Shopping Destinations โดย www.toptenthailand.com
|-
|2551
|Silver Award for Marketing Excellence โดย International Council of Shopping Centers (ICSC)
|-
|2550
|Award Winner for Renovation Expansion of an Existing Project โดยInternational Council of Shopping Centers (ICSC)
|}
{| class="wikitable"
|+
! colspan="2" |สยามดิสคัฟเวอรี่
|-
!'''พ.ศ.'''
!'''รางวัล'''
|-
|2560
|Store Design of the Year โดย World Retail Awards
|-
|2560
|Finalist in Best Instore Customer Experience Initiative Category โดยWorld Retail Awards
|-
|2559
|Retail Development Category Winner for Thailand โดย Asia Pacific Property Awards
|-
|2559
|Best Retail Development โดย Thailand Property Awards
|-
|2559
|Best Commercial Development โดย Thailand Property Awards
|-
|2558
|Energy Saving Building โดย Metropolitan Electricity Authority (MEA)
|-
|2556
|Best Commercial Renovation/ Redevelopment Thailand  โดย Asia Pacific Property Awards
|}
<br />
{| class="wikitable"
|+
! colspan="2" |สยามพารากอน
|-
!'''พ.ศ.'''
!'''รางวัล'''
|-
|2559
|Ranked 11th among the world’s most photographed destinations on Instagram
|-
|2559
|Brand of the Year Award โดย World Branding Forum
|-
|2559
|Brand of the Year Thailand 2016 โดย Superbrands
|-
|2558
|Ranked 6<sup>th</sup> among the world’s most talked-about places on Facebook (the only place in Asia that has made the top 10 rankings)
|-
|2558
|Brand of the Year Award โดย World Branding Forum
|-
|2558
|Finalist in “Market Positioning and Brand Awareness” category โดยAsia Pacific Shopping Center Awards
|-
|2558
|The Best of Thailand Award Voted by Chinese Tourists โดย Tourism Authority of Thailand (TAT)
|-
|2558
|Brand of the Year Thailand 2015 โดย Superbrands
|-
|2557
|Ranked 4th among the world's most photographed locations on Instagram
|-
|2557
|Ranked No.1 among ‘Top Checked-in Places’ โดย Facebook
|}
{| class="wikitable"
|+
! colspan="2" |สยามพิวรรธน์ทาวเวอร์
|-
!'''พ.ศ.'''
!'''รางวัล'''
|-
|2558
|Energy Saving Building โดย Metropolitan Electricity Authority (MEA)
|}
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{ห้างไทย}}
{{ห้างไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:39, 10 พฤษภาคม 2562

สยามพิวรรธน์
อุตสาหกรรมธุรกิจค้าปลีก
อสังหาริมทรัพย์
ก่อตั้ง10 มกราคม พ.ศ. 2502 (ในชื่อ "บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส")
28 มกราคม พ.ศ. 2546 (เปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน)
ผู้ก่อตั้งพลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์
สำนักงานใหญ่989 อาคารสำนักงานสยามทาวเวอร์ ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ
บุคลากรหลัก
ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ ประธานกรรมการ
ชฎาทิพย์ จูตระกูล กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
เว็บไซต์www.siampiwat.com


บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของและบริหารกิจการศูนย์การค้าชั้นนำหลายแห่งใจกลางกรุงเทพมหานคร ได้แก่ สยามเซ็นเตอร์ สยามดิสคัฟเวอรี่ สยามพารากอน และไอคอนสยาม

ประวัติ

บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด ก่อตั้งครั้งแรกในชื่อ บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2502 เพื่อบริหารและพัฒนาที่ดินจำนวน 50 ไร่ บริเวณถนนพระรามที่ 1 เพื่อก่อสร้างโรงแรมห้าดาวระดับนานาชาติแห่งแรกของไทย คือ โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล [1] โดยมีพลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์ เป็นผู้ก่อตั้ง โดยเริ่มแรกจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นมองเห็นถึงประโยชน์ทางการท่องเที่ยวจากการเข้ามาสร้างโรงแรมของกลุ่มทุนต่างชาติ จึงอนุมัติเงินทุนจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล รวมถึงทุนจากสถาบันการเงินขนาดใหญ่ในประเทศ เพื่อลงทุนในบริษัทดังกล่าว[2] ต่อมา ชฎาทิพ จูตระกูล บุตรสาวของพลเอกเฉลิมชัย ได้รับช่วงต่อจากบิดาในการบริหารบริษัท

เมื่อโรงแรมดังกล่าวดำเนินการมาครบ 30 ปี บริษัทได้ดำริที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 หลังจากนั้นจึงดำเนินการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเดิมทั้งหมด และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น "บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด" ซึ่งเป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2546 โดยพื้นที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของศูนย์การค้าสยามพารากอน

ตามข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ผู้ถือหุ้นของสยามพิวรรธน์ ประกอบด้วย บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นใหญ่สุด 47.9771% กลุ่มบุคคลไม่เปิดเผยนาม 24.8523% ธนาคารกรุงเทพ 5.1943% ธนาคารกสิกรไทย 5.0969% นอกนั้นเป็นผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ[3] งานวิจัยเรื่อง "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับการลงทุนทางธุรกิจ" กล่าวว่า สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นของบริษัท[4]

ธุรกิจของบริษัท

ศูนย์การค้า

วันสยาม

ในปี พ.ศ. 2561 สยามพิวรรธน์ได้เปิดตัวเครื่องหมายการค้า "วันสยาม" สำหรับเรียกกลุ่มธุรกิจศูนย์การค้าและอาคารสำนักงานของบริษัทที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตปทุมวัน โดยประกอบด้วยสมาชิกดังนี้

ศูนย์การค้าอื่น ๆ

  • ไอคอนสยาม (ร่วมทุนกับเครือเจริญโภคภัณฑ์ และแมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น ในนามบริษัท ไอคอนสยาม จำกัด)
  • สยาม พรีเมียม เอาท์เล็ต แบงค็อก: อะ สยามพิวรรธน์ ไซมอน เซ็นเตอร์ (ร่วมทุนกับกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ไซมอน)

อาคารสำนักงาน

อาคารสยามพิวรรธน์

อาคารสำนักงานสยามพิวรรธน์ทาวเวอร์ เป็นอาคารสำนักงานสูง 30 ชั้น เชื่อมต่อกับอาคารสยามดิสคัฟเวอรี และอาคารจอดรถสยาม นอกจากเป็นที่ตั้งสำนักงานบริษัทแล้ว ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อีกด้วย

ธุรกิจค้าปลีก

  • บริษัท ดิสคัฟเวอรี่ รีเทล จำกัด - จัดจำหน่ายสินค้าในโซนโอเพนสเปซ (ดิสคัฟเวอรีแล็บ) ภายใน สยามดิสคัฟเวอรี
  • บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับกลุ่มเดอะมอลล์ เพื่อดำเนินการ “พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์” ในสยามพารากอน
  • บริษัท สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด (ชื่อเดิม บริษัท สยาม สเปเชีลลิตี้ จำกัด) - จัดจำหน่ายสินค้าในรูปแบบต่างๆ ได้แก่
    • ลอฟท์
    • เดอะ วันเดอร์ รูม
    • เดอะ ซีเล็คเต็ด
    • จิน แอนด์ มิลค์
    • ออฟเจกต์ ออฟ ดีไซร์ สโตร์ (โอดีเอส)
    • แคช
    • เพอร์-สูท
    • อาแลง
  • บริษัท สยาม กูร์เมต์ โฮลดิ้ง จำกัด - บริหารร้านอาหารเจมีส์ อิตาเลียน และมาย คิทเช่น ในศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี
  • บริษัท สยาม ทาคาชิมาย่า (ประเทศไทย) จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับกลุ่มทาคาชิมาย่า เพื่อดำเนินการห้างสรรพสินค้าสยามทาคาชิมาย่า สาขาไอคอนสยาม
  • บริษัท สยามพิวรรธน์-ไซม่อน จำกัด - บริษัทร่วมทุนกับกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ไซมอน จากประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อดำเนินการศูนย์การค้าลักชูรี พรีเมียม เอาท์เล็ต จำนวน 3 แห่ง โดยหนึ่งในนั้นจะตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร[5][6]

ธุรกิจอื่นๆ

  • บริษัท ซูพรีโม จำกัด บริษัทจัดการตลาดให้กับศูนย์การค้าในเครือ
  • บริษัท ดิจิมีเดีย จำกัด บริษัทจัดการตลาดในสื่อออนไลน์
  • รอยัลพารากอนฮอลล์ ดำเนินการในนามบริษัท รอยัลพารากอน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
  • บริษัท สยามโปรเฟสชั่นแนล แมเนจเม้นท์ จำกัด ดูแลการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ในเครือ
  • บริษัท ซุปเปอร์ฟอร์ซ จำกัด บริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคารในเครือสยามพิวรรธน์

อ้างอิง