ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสังฆิกะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''นิกายมหาสังฆิกะ'''เป็นนิกายใหญ่ที่แยกออกมาจากคณะสงฆ์ดั้งเด...
 
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามไปภาษาอื่น
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''นิกายมหาสังฆิกะ'''เป็นนิกายใหญ่ที่แยกออกมาจากคณะสงฆ์ดั้งเดิมหรือฝ่าย[[เถรวาท]]เมื่อครั้งสังคายนาครั้งที่ 2 โดยแยกตัวออกไปทำสังคายนาต่างหาก ในระยะแรกนิกายนี้ไม่ได้รุ่งเรืองมาก เนื่องจากมีความขัดแย้งกับฝ่ายเถรวาทอย่างรุนแรง ต่อมาจึงมีอิทธิพลที่[[เมืองปาฏลีบุตร]] เวสาลี [[แคว้นมคธ]] ไปจนถึงอินเดียใต้ มีนิกายที่แยกออกไป 5 นิกาย คือ [[นิกายโคกุลิกวาท]] [[นิกายเอกัพโยหาริกวาท]] [[นิกายปัญญตติกวาท]] [[นิกายพหุสสุติกวาท]] และ[[นิกายเจติยวาท]] และถือเป็นต้นกำเนิดของ[[มหายาน]]
'''นิกายมหาสังฆิกะ'''(महासांघिक)เป็นนิกายใหญ่ที่แยกออกมาจากคณะสงฆ์ดั้งเดิมหรือฝ่าย[[เถรวาท]]เมื่อครั้งสังคายนาครั้งที่ 2 โดยแยกตัวออกไปทำสังคายนาต่างหาก ในระยะแรกนิกายนี้ไม่ได้รุ่งเรืองมาก เนื่องจากมีความขัดแย้งกับฝ่ายเถรวาทอย่างรุนแรง ต่อมาจึงมีอิทธิพลที่[[เมืองปาฏลีบุตร]] เวสาลี [[แคว้นมคธ]] ไปจนถึงอินเดียใต้ มีนิกายที่แยกออกไป 5 นิกาย คือ [[นิกายโคกุลิกวาท]] [[นิกายเอกัพโยหาริกวาท]] [[นิกายปัญญตติกวาท]] [[นิกายพหุสสุติกวาท]] และ[[นิกายเจติยวาท]] และถือเป็นต้นกำเนิดของ[[มหายาน]]
==หลักธรรม==
==หลักธรรม==
โดยทั่วไปนิกายมหาสังฆิกะยอมรับหลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา เช่น [[อริยสัจ 4]] กฏแห่งกรรม [[ปฏิจสมุปบาท]] เช่นเดียวกับเถรวาท ส่วนที่ต่างออกไปคือ
โดยทั่วไปนิกายมหาสังฆิกะยอมรับหลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา เช่น [[อริยสัจ 4]] กฏแห่งกรรม [[ปฏิจสมุปบาท]] เช่นเดียวกับเถรวาท ส่วนที่ต่างออกไปคือ
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
* อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539
* อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539
[[หมวดหมู่:นิกายในพุทธศาสนาเถรวาท|มหาสังฆิกะ]]
[[หมวดหมู่:นิกายในพุทธศาสนาเถรวาท|มหาสังฆิกะ]]
[[en:Mahasamghika]]
[[de:Mahasanghika]]
[[ja:大衆部]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 21 พฤศจิกายน 2550

นิกายมหาสังฆิกะ(महासांघिक)เป็นนิกายใหญ่ที่แยกออกมาจากคณะสงฆ์ดั้งเดิมหรือฝ่ายเถรวาทเมื่อครั้งสังคายนาครั้งที่ 2 โดยแยกตัวออกไปทำสังคายนาต่างหาก ในระยะแรกนิกายนี้ไม่ได้รุ่งเรืองมาก เนื่องจากมีความขัดแย้งกับฝ่ายเถรวาทอย่างรุนแรง ต่อมาจึงมีอิทธิพลที่เมืองปาฏลีบุตร เวสาลี แคว้นมคธ ไปจนถึงอินเดียใต้ มีนิกายที่แยกออกไป 5 นิกาย คือ นิกายโคกุลิกวาท นิกายเอกัพโยหาริกวาท นิกายปัญญตติกวาท นิกายพหุสสุติกวาท และนิกายเจติยวาท และถือเป็นต้นกำเนิดของมหายาน

หลักธรรม

โดยทั่วไปนิกายมหาสังฆิกะยอมรับหลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา เช่น อริยสัจ 4 กฏแห่งกรรม ปฏิจสมุปบาท เช่นเดียวกับเถรวาท ส่วนที่ต่างออกไปคือ

พระพุทธเจ้า

นิกายนี้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นโลกุตตระ ประกอบด้วยตรีกายคือ ธรรมกาย สัมโภคกาย และนิรมาณกาย มีการนับถือพระโพธิสัตว์โดยถือว่าเป็นโลกุตตระแบบเดียวกับพระพุทธเจ้า

พระอรหันต์

นิกายนี้ถือว่าพระอรหันต์อาจถูกมารยั่วยวนในความฝันจนอสุจิเคลื่อนได้ พระอรหันต์มีอัญญาณได้ มีกังขาได้ พระอรหันต์จะรู้ตัวว่าตนบรรลุมรรคผลเมื่อได้รับการพยากรณ์จากผู้อื่น มรรคผลจะปรากฏเมื่อผู้บำเพ็ญเพียรเปล่งคำว่า ทุกข์หนอๆ

หลักธรรมอื่นๆ

นิกายนี้ถือว่าธรรมชาติของจิตเดิมแท้ผ่องใสแต่มัวหมองเพราะกิเลสจรมา ซึ่งใกล้เคียงกับแนวคิดของปรัชญาจิตนิยมของนิกายโยคาจารที่เกิดขึ้นภายหลัง ปฏิเสธอันตรภพ ถือว่าพระโสดาบันอาจเสื่อมจากโสดาปัตติผลได้ เป็นต้น

อ้างอิง

  • อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539