ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าราชการส่วนท้องถิ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gettaneerzaa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gettaneerzaa (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
และไม่มีลักษณะต้องห้ามลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
และไม่มีลักษณะต้องห้ามลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542


=== การแบ่งระดับข้าราชการ ===
== การแบ่งระดับข้าราชการ ==
[[File:อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น.jpg|thumb|อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น]]
[[File:อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น.jpg|thumb|อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น]]
* ตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่น มี 4 ประเภท ประกอบด้วย
* ตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่น มี 4 ประเภท ประกอบด้วย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:48, 6 พฤษภาคม 2562

ข้าราชการส่วนท้องถิ่น คือ ข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยา ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงิน เดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือจากเงินงบประมาณหมวดเงิน อุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการ โดยการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่น ณ ปัจจุบัน จะดำเนินการโดย คณะกรรมการกลางสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น (กสถ.) ซึ่งการสอบจะแบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) และภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.)

คุณสมบัติของบุคคลที่จะเข้ารับราชการ

ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังนี้

  • มีสัญญชาติไทย
  • มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
  • เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

และไม่มีลักษณะต้องห้ามลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

การแบ่งระดับข้าราชการ

ไฟล์:อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น.jpg
อินทรธนูข้าราชการส่วนท้องถิ่น
  • ตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่น มี 4 ประเภท ประกอบด้วย

1) ประเภทบริหารท้องถิ่น มี 3 ระดับ ได้แก่

1.1) ระดับต้น

1.2) ระดับกลาง

1.3) ระดับสูง

2) ประเภทอำนวยการท้องถิ่น มี 3 ระดับ ได้แก่

2.1) ระดับต้น

2.2) ระดับกลาง

2.3) ระดับสูง

3) ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ได้แก่

3.1) ระดับปฏิบัติการ

3.2) ระดับชำนาญการ

3.3) ระดับชำนาญการพิเศษ

3.4) ระดับเชี่ยวชาญ

4) ประเภททั่วไป มี 3 ระดับ ได้แก่

4.1) ระดับปฏิบัติงาน

4.2) ระดับชำนาญงาน

4.3) ระดับอาวุโส

อ้างอิง

ดกกสกดอพกสกสดพกสกสกสดดยพวหบำบกบกยกากสปาดทบกบก​จน