ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิอัสมาจารย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า อัสสมาจารย์นิยม ไปยัง ลัทธิอัสมาจารย์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Laurentius de Voltolina 001.jpg|290px|right|thumb|การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14]]
[[ไฟล์:Laurentius de Voltolina 001.jpg|290px|right|thumb|การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14]]
'''อัสสมาจารย์นิยม''' ({{lang-en|Scholasticism}}) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการใน[[มหาวิทยาลัย]]ในยุโรป[[สมัยกลาง]] (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น<ref>See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., ''The Cambridge Companion to Medieval Philosophy'' (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, ''The Love of Learning and the Desire for God'' (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.</ref> อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนใน[[อาราม]]คริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่[[ประเทศอิตาลี]] [[ฝรั่งเศส]] [[สเปน]] และ[[อังกฤษ]] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้าน[[ศิลปศาสตร์]] [[นิติศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]] และ[[เทววิทยา]]<ref name="de Ridder-Symoens 1992, 47–55">de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55</ref> มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น [[มหาวิทยาลัยซาแลร์โน]] [[มหาวิทยาลัยโบโญญา]] และ[[มหาวิทยาลัยปารีส]]
'''ลัทธิอัสมาจารย์'''<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา ฉบับราชบัณฑิตยสภา |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๕, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|ปี = 2560|ISBN = 978-616-389-061-0|จำนวนหน้า = 320|หน้า = 224-225}}</ref> ({{lang-en|scholasticism}}) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการใน[[มหาวิทยาลัย]]ในยุโรป[[สมัยกลาง]] (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น<ref>See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., ''The Cambridge Companion to Medieval Philosophy'' (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, ''The Love of Learning and the Desire for God'' (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.</ref> อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนใน[[อาราม]]คริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่[[ประเทศอิตาลี]] [[ฝรั่งเศส]] [[สเปน]] และ[[อังกฤษ]] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้าน[[ศิลปศาสตร์]] [[นิติศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]] และ[[เทววิทยา]]<ref name="de Ridder-Symoens 1992, 47–55">de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55</ref> มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น [[มหาวิทยาลัยซาแลร์โน]] [[มหาวิทยาลัยโบโญญา]] และ[[มหาวิทยาลัยปารีส]]


นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น [[แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี]] [[อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์]] [[อัลแบร์ตุส มาญุส]] [[ดันส์ สโกตัส]] [[วิลเลียมแห่งออกคัม]] [[โบนาเวนตูรา]] และ[[ทอมัส อไควนัส]]
นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น [[แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี]] [[อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์]] [[อัลแบร์ตุส มาญุส]] [[ดันส์ สโกตัส]] [[วิลเลียมแห่งออกคัม]] [[โบนาเวนตูรา]] และ[[ทอมัส อไควนัส]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:34, 5 พฤษภาคม 2562

การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14

ลัทธิอัสมาจารย์[1] (อังกฤษ: scholasticism) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยในยุโรปสมัยกลาง (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น[2] อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนในอารามคริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเทววิทยา[3] มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น มหาวิทยาลัยซาแลร์โน มหาวิทยาลัยโบโญญา และมหาวิทยาลัยปารีส

นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์ อัลแบร์ตุส มาญุส ดันส์ สโกตัส วิลเลียมแห่งออกคัม โบนาเวนตูรา และทอมัส อไควนัส

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานราชบัณฑิตยสภาพจนานุกรมศัพท์ปรัชญา ฉบับราชบัณฑิตยสภา. พิมพ์ครั้งที่ ๕, กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560. 320 หน้า. หน้า 224-225. ISBN 978-616-389-061-0
  2. See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., The Cambridge Companion to Medieval Philosophy (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, The Love of Learning and the Desire for God (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.
  3. de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55