ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เวือร์ทเทมแบร์ก→เวือร์ทเทิมแบร์ค
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
* {{flagicon image|State flag of Saxony before 1815.svg}} [[ราชอาณาจักรซัคเซิน|ซัคเซิน]]
* {{flagicon image|State flag of Saxony before 1815.svg}} [[ราชอาณาจักรซัคเซิน|ซัคเซิน]]
* {{flagicon image|Flag of Bavaria (striped).svg}} [[ราชอาณาจักรบาวาเรีย|บาวาเรีย]]
* {{flagicon image|Flag of Bavaria (striped).svg}} [[ราชอาณาจักรบาวาเรีย|บาวาเรีย]]
* {{flagicon image|Flagge Königreich Württemberg.svg}} [[ราชอาณาจักรเวือร์ทเทมแบร์ก|เวือร์ทเทมแบร์ก]]
* {{flagicon image|Flagge Königreich Württemberg.svg}} [[ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค|เวือร์ทเทิมแบร์ค]]
* {{flagicon|Netherlands}} [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์|สหเนเธอร์แลนด์]]
* {{flagicon|Netherlands}} [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์|สหเนเธอร์แลนด์]]
|
|

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:04, 3 พฤษภาคม 2562

สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก
ส่วนหนึ่งของ สงครามนโปเลียน

ยุทธการที่ไลพ์ซิช
วันที่มีนาคม ค.ศ. 1813 – พฤษภาคม ค.ศ. 1814
สถานที่
ทวีปยุโรป
ผล

ชัยชนะของฝ่ายสหสัมพันธมิตร

คู่สงคราม

สหสัมพันธมิตรเริ่มแรก

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ฝรั่งเศส นโปเลียนที่ 1 ฝรั่งเศส นีกอลา อูดีโน
ฝรั่งเศส หลุยส์-นีกอลา ดาวู
เออแฌน เดอ โบอาร์แน
โปแลนด์ โจเซฟ โปเนียโตสกี 

ฌออากีม มูว์รา
กำลัง
ราว 800,000
มากกว่า 1,200,000 หลังพันธมิตรนโปเลียนแตก
ราว 550,000
เหลือ 400,000 หลังพวกเยอรมันย้ายฝั่ง
  1. ดัชชีวอร์ซออยู่ในสงครามจนถึงเดือนพฤษภาคม 1813 เท่านั้น ก็ถูกยึดครองโดยกองกำลังปรัสเซียและรัสเซีย

สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก[1] (อังกฤษ: War of the Sixth Coalition) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ สงครามปลดแอก (เยอรมัน: Befreiungskriege) เป็นการผนึกกำลังระหว่างออสเตรีย, ปรัสเซีย, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร, โปรตุเกส, สวีเดน, สเปน และรัฐเยอรมันอีกหลาย ๆ รัฐ เข้าต่อสู้และมีชัยเหนือฝรั่งเศสซึ่งนำโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และเนรเทศนโปเลียนไปยังเกาะเอลบา สงครามนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กองทัพนโปเลียนพ่ายแพ้อย่างพินาศย่อยยับในการรุกรานรัสเซีย มหาอำนาจยุโรปอย่างสหราชอาณาจักร, โปรตุเกส และฝ่ายกบฏในสเปนต่างพากันเข้าร่วมกับรัสเซียในการสยบนโปเลียน กองทัพฝ่ายสหสัมพันธมิตรที่ได้รับการจัดระเบียบใหม่ สามารถไล่ทหารของนโปเลียนออกจากเยอรมนีได้ในปี ค.ศ. 1813 และเริ่มรุกรานเข้าสู่ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1814 ซึ่งทำให้นโปเลียนจำยอมต้องลงจากราชบัลลังก์และเปิดทางให้มีการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : ยุโรป เล่ม ๕ อักษร L-O ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2551. 896 หน้า. หน้า 592. ISBN 978-974-287-672-2