ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักราชของญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
การใช้เน็งโก มีต้นกำเนิดจากราชสำนักจีน และมีการใช้แยกต่างหากกันทั้งในเกาหลีและเวียดนาม
การใช้เน็งโก มีต้นกำเนิดจากราชสำนักจีน และมีการใช้แยกต่างหากกันทั้งในเกาหลีและเวียดนาม


เน็งโกปัจจุบันคือ ''[[เฮเซ]]'' (平成) เริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2532 ภายหลังการสวรรคตของ [[สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ]] และ [[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]] ขึ้นครองราชย์
เน็งโกปัจจุบันคือ '''[[เรวะ]]''' (令和) เริ่มต้นเมื่อ[[สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ‎]]ขึ้น[[ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ|ครองราชย์]]ในวันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ภายหลังการสละราชสมบัติของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]]

รัชศกใหม่ [[เรวะ]] (令和) เตรียมเริ่มต้นในวันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ในวันที่ [[เจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น]] พระราชโอรสองค์ใหญ่ของ [[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]] ได้ขึ้นครอง [[ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ]] เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิองค์ที่ 126


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:45, 30 เมษายน 2562

ศักราชของญี่ปุ่น หรือ เน็งโก (ญี่ปุ่น: 年号โรมาจิNengō) หรือ เก็งโก (ญี่ปุ่น: 元号โรมาจิGengō) หรือ รัชศก คือ การเรียกช่วงปีในรัชกาลของจักรพรรดิญี่ปุ่นแต่ละพระองค์ ปรากฏหลักฐานว่ามีการใช้ครั้งแรกในรัชสมัยจักรพรรดิโคโตะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 36 สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

ในอดีตรัชกาลจักรพรรดิพระองค์หนึ่งมักมีเน็งโกมากกว่าหนึ่งเน็งโก กระทั่งถึงรัชสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ จักรพรรดิองค์ที่ 122 พระองค์เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกที่ใช้รัชศกเดียวตลอดรัชสมัยซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ใช้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน

การใช้เน็งโก มีต้นกำเนิดจากราชสำนักจีน และมีการใช้แยกต่างหากกันทั้งในเกาหลีและเวียดนาม

เน็งโกปัจจุบันคือ เรวะ (令和) เริ่มต้นเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ‎ขึ้นครองราชย์ในวันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ภายหลังการสละราชสมบัติของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ

ดูเพิ่ม