ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายกักกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


[[หมวดหมู่:ค่ายกักกัน]]
[[หมวดหมู่:ค่ายกักกัน]]

[[af:Konsentrasiekamp]]
[[ar:معسكر اعتقال]]
[[bg:Концентрационен лагер]]
[[br:Konzentrationslager]]
[[bs:Koncentracioni logor]]
[[ca:Camp de concentració]]
[[cs:Koncentrační tábor]]
[[da:Koncentrationslejr]]
[[de:Internierungslager]]
[[en:Internment]]
[[en:Internment]]
[[es:Campo de concentración]]
[[eu:Kontzentrazio-zelai]]
[[fi:Keskitysleiri]]
[[fr:Camp de concentration]]
[[gl:Campo de concentración]]
[[he:מחנה ריכוז]]
[[hr:Sabirni logor]]
[[id:Kamp konsentrasi]]
[[io:Koncentreso-kampeyo]]
[[it:Campo di concentramento]]
[[ja:強制収容所]]
[[mk:Концентрационен логор]]
[[nl:Concentratiekamp]]
[[nn:Konsentrasjonsleir]]
[[no:Konsentrasjonsleir]]
[[pl:Obóz koncentracyjny]]
[[pt:Campo de concentração]]
[[ro:Lagăr de concentrare]]
[[ru:Концентрационный лагерь]]
[[simple:Concentration camp]]
[[sk:Koncentračný tábor]]
[[sl:Koncentracijsko taborišče]]
[[sr:Концентрациони логор]]
[[sv:Koncentrationsläger]]
[[uk:Концентраційний табір]]
[[ur:بیگار کیمپ]]
[[vi:Trại tập trung]]
[[yi:קאנצענטראציע לאגער]]
[[zh:集中营]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:13, 19 พฤศจิกายน 2550

ค่ายกักกัน (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขังนักโทษ หรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของพรรคนาซีในเยอรมันและค่ายกักกันแรงงานในสหภาพโซเวียต

ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิดสงครามบัวร์ในแอฟริกาใต้ โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบๆค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด

ค่ายกักกันที่สำคัญๆได้แก่

  • ค่ายกักกันที่ดาเชา (Dachau)
  • ค่ายกักกันเอาช์วิทซ์ (Auschwitz)
  • ค่ายกักกันเชล์มโน (Chelmno)
  • ค่ายกักกันเบลเซก (Belzec)
  • ค่ายกักกันที่ไมดาเนก (Meidanek)
  • ค่ายกักกันที่โซบิบอร์ (Sobibor)
  • ค่ายกักกันเตรบลินกา (Treblinka)
  • ค่ายกักกันบูเคนวอลด์ (Buchenwald)
  • ค่ายกักกันบอกดานอฟกา (Bogdanovka)
  • ค่ายกักกันดูมานอฟกา (Damanovka)
  • ค่ายกักกันอัคเนคคา (Aknecetka)


อ้างอิง

  • สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์ สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม C-D