ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
{{SRT Northeastern Line route map}}
{{SRT Northeastern Line route map}}


== ประวัติ ==
== ลำดับเหตุการณ์ ==
=== ตอนล่าง ===
* 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 - เริ่มก่อสร้างทางรถไฟ
* 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 - เริ่มก่อสร้างทางรถไฟ
* 26 มีนาคม พ.ศ. 2439 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟอยุธยา]]
* 26 มีนาคม พ.ศ. 2439 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟอยุธยา]]
บรรทัด 56: บรรทัด 55:
นอกจากนี้ กรมรถไฟหลวงได้สร้างทางรถไฟสายสั้นๆ แยกจาก[[สถานีรถไฟบุ่งหวาย]] ไปถึงริม[[แม่น้ำมูล]] แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว
นอกจากนี้ กรมรถไฟหลวงได้สร้างทางรถไฟสายสั้นๆ แยกจาก[[สถานีรถไฟบุ่งหวาย]] ไปถึงริม[[แม่น้ำมูล]] แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว


=== ตอนบน ===
หลังจากนั้น กรมรถไฟหลวงจึงกำหนดให้สร้างทางรถไฟตอนบน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนชาวอีสานตอนบนด้วย
หลังจากนั้น กรมรถไฟหลวงจึงกำหนดให้สร้างทางรถไฟตอนบน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนชาวอีสานตอนบนด้วย
* 1 เมษายน พ.ศ. 2476 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟขอนแก่น]]
* 1 เมษายน พ.ศ. 2476 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟขอนแก่น]]
บรรทัด 63: บรรทัด 61:
* 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟหนองคาย (ใหม่)|สถานีรถไฟหนองคาย]]<ref name="รถไฟไทยดอตคอม"/>
* 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 - เปิดเดินรถถึง[[สถานีรถไฟหนองคาย (ใหม่)|สถานีรถไฟหนองคาย]]<ref name="รถไฟไทยดอตคอม"/>


หลังจากนั้น จึงมีการก่อสร้างทางรถไฟจาก[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]-[[สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่]]ขึ้น เปิดเดินรถครบทั้งสายเมื่อ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2510]]<ref name="รถไฟไทยดอตคอม"/>
นอกจากนี้ ยังมีการก่อสร้างทางรถไฟจาก[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]-[[สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่]]ขึ้น เปิดเดินรถครบทั้งสายเมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2510<ref name="รถไฟไทยดอตคอม"/>


=== รถไฟทางคู่ ===
=== รถไฟทางคู่ ===
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้เปิดใช้งานสถานีรถไฟลอยฟ้าบ้านไผ่ ซึ่งสร้างขึ้นใหม่แทนสถานีเดิมเพื่อรองรับรถไฟทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ–ขอนแก่น<ref>{{cite web|url=https://workpointnews.com/2019/02/15/เปิดใช้แล้ว-สถานีรถไฟรา/|title=เปิดใช้แล้ว! สถานีรถไฟทางคู่บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น|accessdate=11 มีนาคม 2562}}</ref> (แต่ยังคงเดินรถในรูปแบบทางเดี่ยว) ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2562 มีกำหนดเปิดสถานีรถไฟลอยฟ้าขอนแก่น
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้เปิดใช้งานสถานีรถไฟบ้านไผ่ ซึ่งสร้างขึ้นใหม่แทนสถานีเดิมเพื่อรองรับรถไฟทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ–ขอนแก่น<ref>{{cite web|url=https://workpointnews.com/2019/02/15/เปิดใช้แล้ว-สถานีรถไฟรา/|title=เปิดใช้แล้ว! สถานีรถไฟทางคู่บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น|accessdate=11 มีนาคม 2562}}</ref> (แต่ยังคงเดินรถในรูปแบบทางเดี่ยว) ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2562 ได้เปิดใช้งานสถานีรถไฟขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานียกระดับ


== สถานีรถไฟ ==
== สถานีรถไฟ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:52, 23 เมษายน 2562

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ (บ้านภาชี–อุบลราชธานี, ถนนจิระ–หนองคาย–ท่านาแล้ง, แก่งคอย–บัวใหญ่)
โครงการส่วนต่อขยาย (บ้านไผ่–นครพนม)
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ตั้งดูในบทความ
ปลายทาง
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วนของสถานีขนถ่ายสินค้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงโรงรถจักรดีเซลแก่งคอย
โรงรถจักรดีเซลนครราชสีมา
โรงรถจักรดีเซลอุบลราชธานี
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง575 กม. (357.29 ไมล์) (กรุงเทพฯ–อุบลราชธานี)
627.5 กม. (389.91 ไมล์) (กรุงเทพฯ–หนองคาย)
รางกว้างราง 1 เมตร ทางเดี่ยว
(ถนนจิระ–อุบลราชธานี, ขอนแก่น–หนองคาย, แก่งคอย–บัวใหญ่)
ราง 1 เมตร ทางคู่
(เปิดให้บริการ: บ้านภาชี–มาบกะเบา)
(กำลังก่อสร้าง: มาบกะเบา–ถนนจิระ–ขอนแก่น)

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แยกออกจากทางรถไฟสายเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี โดยในเส้นทางตอนล่าง จะผ่านจังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ สุดปลายทางที่สถานีรถไฟอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง 575 กิโลเมตร ส่วนเส้นทางตอนบนแยกจากเส้นทางตอนล่างที่สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ จังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย ข้ามสะพานมิตรไทย-ลาวแห่งที่ 1 และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง ประเทศลาว รวมระยะทาง 628 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จะมีเส้นทางลัดไปเชื่อมที่สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของเส้นทางตอนบน

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นทางที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์รถไฟไทย เนื่องจากเป็นเส้นทางที่เปิดเดินรถสายแรก[1] จากสถานีรถไฟกรุงเทพ ถึงสถานีรถไฟนครราชสีมา

km
0.00
กรุงเทพ (หัวลำโพง) สถานีหัวลำโพง
2.17
ยมราช
3.29
จิตรลดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี
4.80
สามเสน
6.73
ประดิพัทธ์
7.470
ชุมทางบางซื่อ สถานีกลางบางซื่อ กรุงเทพอภิวัฒน์
11.01
จตุจักร
12.50
วัดเสมียนนารี
13.30
บางเขน
14.81
ทุ่งสองห้อง
17.57
หลักสี่
19.47
การเคหะ
21.69
ตลาดใหม่ดอนเมือง
ทางยกระดับ สายสีแดงเข้ม
22.21
ดอนเมือง
หลักหก
29.75
รังสิต
33.84
คลองหนึ่ง
37.47
เชียงราก
40.19
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
44.12
นวนคร
46.01
เชียงรากน้อย
51.88
คลองพุทรา
58.00
บางปะอิน
62.75
บ้านโพ
71.08
อยุธยา
74.69
บ้านม้า
78.98
มาบพระจันทร์
82.31
บ้านดอนกลาง
85.44
พระแก้ว
89.95
ชุมทางบ้านภาชี
94.62
หนองกวย
98.04
หนองแซง
103.34
หนองสีดา
107.15
บ้านป๊อกแป๊ก
113.26
สระบุรี
119.24
ชุมทางหนองบัว
125.1
ชุมทางแก่งคอย
แก่งคอย – บัวใหญ่
แก่งคอย – บัวใหญ่       
128.80
บ้านช่องใต้
134.37
เขาคอก
141.85
เขาหินดาด
147.90
หินซ้อน
152.30
เขาสูง
159.65
แก่งเสือเต้น
162.38
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
176.55
โคกสลุง
185.80
สุรนารายณ์
198.95
เขายายกะตา
207.38
ตลาดลำนารายณ์
208.80
ลำนารายณ์
220.35
บ้านเกาะรัง
226.45
แผ่นดินทอง
236.65
บ้านจงโก
240.87
โคกคลี
248.8
อุโมงค์เขาพังเหย (230.60 ม.)
250.64
ช่องสำราญ
263.14
บ้านวะตะแบก (เทพสถิต)
273.13
ห้วยยายจิ่ว
279.97
บ้านปากจาบ
290.53
บำเหน็จณรงค์
293.25
บ้านกลอย
297.30
วังกะอาม
302.10
โนนคร้อ
310.19
จัตุรัส
322.85
หนองฉิม
330.15
บ้านตาเนิน
334.05
บ้านหนองขาม
341.18
บ้านเหลี่อม
346.16
บ้านโคกกระเบื้อง
351.83
บ้านหนองปรือโป่ง
355.19
หนองพลวง
358.20
บ้านกระพี้
360.17
บ้านเก่างิ้ว
362.14
บ้านสระครก
366.50
บ้านโสกรัง
134.30
มาบกะเบา
138.95
ผาเสด็จ
144.29
หินลับ
152.30
มวกเหล็ก
160.03
กลางดง
165.19
ปางอโศก
173.64
บันไดม้า
179.93
ปากช่อง
187.89
ซับม่วง
195.50
จันทึก
202.20
คลองขนานจิตร
206.21
คลองไผ่
209.41
ลาดบัวขาว
214.90
บ้านใหม่สำโรง
218.27
หนองน้ำขุ่น
223.79
สีคิ้ว
228.99
โคกสะอาด
233.87
สูงเนิน
241.15
กุดจิก
249.94
โคกกรวด
257.44
ภูเขาลาด
263.65
นครราชสีมา
266.28
ชุมทางถนนจิระ
272.50
บ้านเกาะ
282.92
หนองไข่น้ำ
284.67
บ้านกระโดน
288.12
บ้านหนองกันงา
289.79
หนองแมว
295.08
โนนสูง
302.19
บ้านดงพลอง
308.20
บ้านมะค่า
311.38
เนินถั่วแปบ
315.65
พลสงคราม
320.35
บ้านดอนใหญ่
326.80
เมืองคง
333.67
บ้านไร่
335.71
โนนทองหลาง
342.50
ห้วยระหัด
345.50
ชุมทางบัวใหญ่
351.20
เนินสวัสดิ์
357.36
หนองบัวลาย
362.43
ศาลาดิน
370.04
หนองมะเขือ
377.66
เมืองพล
396.82
บ้านหัน
407.72
บ้านไผ่
บ้านไผ่–นครพนม
1.375
ชุมทางบ้านหนองแวงไร่
10.185
ภูเหล็ก
21.075
นาโพธิ์
30.550
บรบือ
45.300
กุตรัง
59.475
หนองโน
69.225
มหาสารคาม
78.750
เขวา
85.600
ศรีสมเด็จ
93.800
สีแก้ว
104.85
ร้อยเอ็ด
117.725
เชียงขวัญ
128.975
โพธิ์ชัย
150.48
อำเภอโพนทอง
159.775
เมยวดี
175.425
หนองพอก
143.400
โคกสว่าง
195.600
ห้องแซง
209.62
เลิงนกทา
223.10
นิคมคำสร้อย
228.250
บ้านป่งแดง
247.07
มุกดาหาร
250.300
บ้านดานคำ
255.175
สะพานมิตรภาพ 2
267.92
หว้านใหญ่
291.945
ธาตุพนม
304.145
เรณูนคร
315.560
นาถ่อน
320.070
บ้านกลาง
343.675
นครพนม
354.385
สะพานมิตรภาพ 3
423.60
บ้านแฮด
431.59
หนองเม็ก
439.81
ท่าพระ
449.75
ขอนแก่น
460.71
สำราญ
474.93
โนนพยอม
480.45
บ้านวังชัย
484.21
น้ำพอง
489.95
ห้วยเสียว
500.51
เขาสวนกวาง
514.45
โนนสะอาด
523.40
ห้วยเกิ้ง
532.50
กุมภวาปี
542.75
ห้วยสามพาด
550.65
หนองตะไก้
562.05
คำกลิ้ง
565.40
หนองขอนกว้าง
568.84
อุดรธานี
593.09
นาพู่
617.84
นาทา
621.10
หนองคาย
623.58
ตลาดหนองคาย
626.58
ท่านาแล้ง, ลาว
635.06
คำสะหวาด
276.35
บ้านพะเนา
280.10
บ้านพระพุทธ
285.40
ท่าช้าง
293.260
หนองมโนรมย์
300.15
จักราช
309.75
บ้านหินโคน
316.90
หินดาษ
325.65
ห้วยแถลง
337.66
หนองกระทิง
345.70
ลำปลายมาศ
354.85
ทะเมนชัย
363.30
บ้านแสลงพัน
366.50
บ้านหนองตาด
376.02
บุรีรัมย์
380.35
บ้านตะโก
385.51
ห้วยราช
398.65
กระสัง
405.50
หนองเต็ง
412.00
ลำชี
419.75
สุรินทร์
428.60
บุฤๅษี
437.16
เมืองที
445.50
กระโดนค้อ
452.39
ศีขรภูมิ
460.25
บ้านกะลัน
471.00
สำโรงทาบ
481.50
ห้วยทับทัน
489.04
หนองแคน
494.45
อุทุมพรพิสัย
498.27
บ้านแต้
504.00
บ้านเนียม
515.09
ศรีสะเกษ
520.18
เฉลิมกาญจนา
527.19
หนองแวง
534.20
บ้านคล้อ
542.18
กันทรารมย์
546.86
บ้านโนนผึ้ง
553.99
ห้วยขยุง
557.70
บ้านถ่อน
566.20
บุ่งหวาย
575.10
อุบลราชธานี

ประวัติ

นอกจากนี้ กรมรถไฟหลวงได้สร้างทางรถไฟสายสั้นๆ แยกจากสถานีรถไฟบุ่งหวาย ไปถึงริมแม่น้ำมูล แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว

หลังจากนั้น กรมรถไฟหลวงจึงกำหนดให้สร้างทางรถไฟตอนบน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนชาวอีสานตอนบนด้วย

นอกจากนี้ ยังมีการก่อสร้างทางรถไฟจากสถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย-สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ขึ้น เปิดเดินรถครบทั้งสายเมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2510[1]

รถไฟทางคู่

ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้เปิดใช้งานสถานีรถไฟบ้านไผ่ ซึ่งสร้างขึ้นใหม่แทนสถานีเดิมเพื่อรองรับรถไฟทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ–ขอนแก่น[2] (แต่ยังคงเดินรถในรูปแบบทางเดี่ยว) ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2562 ได้เปิดใช้งานสถานีรถไฟขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานียกระดับ

สถานีรถไฟ

พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน

อำเภอ จังหวัด
ภาชี พระนครศรีอยุธยา
หนองแซง / เสาไห้ / เมืองสระบุรี / แก่งคอย / วิหารแดง / มวกเหล็ก สระบุรี
ปากช่อง / สีคิ้ว / สูงเนิน / เมืองนครราชสีมา / เฉลิมพระเกียรติ / จักราช / ห้วยแถลง / คง / โนนสูง / บัวใหญ่ / บัวลาย / บ้านเหลื่อม นครราชสีมา
ลำปลายมาศ / เมืองบุรีรัมย์ / ห้วยราช / กระสัง บุรีรัมย์
เมืองสุรินทร์ / ศีขรภูมิ / สำโรงทาบ สุรินทร์
ห้วยทับทัน / อุทุมพรพิสัย / เมืองศรีสะเกษ / กันทรารมย์ ศรีสะเกษ
วารินชำราบ อุบลราชธานี
พัฒนานิคม / ชัยบาดาล / ลำสนธิ ลพบุรี
เทพสถิต / บำเหน็จณรงค์ / จัตุรัส / เนินสง่า ชัยภูมิ
พล / โนนศิลา / บ้านไผ่ / บ้านแฮด / เมืองขอนแก่น / น้ำพอง / เขาสวนกวาง ขอนแก่น
โนนสะอาด / กุมภวาปี / ประจักษ์ศิลปาคม / เมืองอุดรธานี / เพ็ญ อุดรธานี
สระใคร / เมืองหนองคาย หนองคาย

โครงการในอนาคต

ใน พ.ศ. 2560 การรถไฟแห่งประเทศไทย กำลังปรับปรุงทางรถไฟเดิมจากทางเดี่ยวเป็นทางคู่ โดยแบ่งช่วงการก่อสร้างดังนี้

  • มาบกะเบา-คลองขนานจิตร (รวมอุโมงค์รถไฟ) (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง)
  • คลองขนานจิตร-ชุมทางถนนจิระ (อยู่ระหว่างปรับแบบก่อสร้าง ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา)
  • ชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ พ.ศ. 2562)
  • ขอนแก่น-หนองคาย (โครงการ)
  • ชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี (โครงการ)

นอกจากนี้ ยังมีโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายใหม่ ดังนี้

  • อุบลราชธานี-ช่องเม็ก (ส่วนต่อขยายทางรถไฟสายอุบลราชธานี)
  • บ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม (อยู่ระหว่างพิจารณาเตรียมการประมูล)
  • บ้านไผ่-นครสวรรค์
  • ร้อยเอ็ด-ยโสธร-ศรีสะเกษ
  • ทางรถไฟสายชัยภูมิ/เพชรบูรณ์ (อยู่ระหว่างการศึกษาว่าจะใช้แนวเส้นทางใด)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 ตำนานแห่งรถไฟไทย
  2. "เปิดใช้แล้ว! สถานีรถไฟทางคู่บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น". สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ทุบ 20 มี.ค. 2560 สถานีรถไฟขอนแก่นอายุ 82 ปี เตรียมสร้างสถานีรถไฟรางคู่สุดทันสมัย". สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น