ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คีเฟอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox prepared food
| name = คีเฟอร์
| image = Kefir in a glass.JPG
| image_size = 175px
| caption = คีเฟอร์กำลังถูกเทลงแก้ว
| alternate_name = นมเปรี้ยวคีเฟอร์
| country =
| origin = รัสเซีย
| region =
| creator =
| course =
| type =
| served =
| main_ingredient = [[น้ำนม]], เมล็ดคีเฟอร์ ([[แบคทีเรีย]], [[ยีสต์]], [[โปรตีน]], [[ไขมัน]], [[น้ำตาล]])
| variations =
| calories =
| other =
}}

'''คีเฟอร์''' <ref>Kaewprasert, P. (2009). Production of kefir liked product from mix cultures of saccharomyces cerevisiae, streptococcus cremoris and streptococcus lactis= การผลิตผลิตภัณฑ์คล้ายคีเฟอร์จากเชื้อผสมของแซคคาโรมัยซีสเซเรวิสิอีม,สเตร็ปโตคอคคัสครีโมริสกับสเตร็ปโตคอคคัสแลคติส (Doctoral dissertation, Chiang Mai: Graduate School, Chiang Mai University, 2009).</ref><ref>รุ่งโรจน์ ศรีรักษา, ศิริรัตน์ ดีศีลธรรม, อนุชิตา มุ่งงาม, & เกษศิริ นทร์ศักดิ์วิวัฒกุล. (2013). ฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรียและคุณสมบัติการทนความร้อนของแบคเทอริโอซินที่ผลิตจากคีเฟอร์. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences, 9(1), 231-235.</ref><ref>ศานต์ เศรษฐชัยมงคล, & อัญชิสา กุลทวีสุข. (2018). นมเปรี้ยวคีเฟอร์: เทคโนโลยีชีวภาพจากมุมมองวิทยาการด้านโอมิกส์ (Kefir: Biotechnology from “~ omics” Perspectives). Journal of Food Technology, Siam University, 13(1), 1-18.</ref>
'''คีเฟอร์''' <ref>Kaewprasert, P. (2009). Production of kefir liked product from mix cultures of saccharomyces cerevisiae, streptococcus cremoris and streptococcus lactis= การผลิตผลิตภัณฑ์คล้ายคีเฟอร์จากเชื้อผสมของแซคคาโรมัยซีสเซเรวิสิอีม,สเตร็ปโตคอคคัสครีโมริสกับสเตร็ปโตคอคคัสแลคติส (Doctoral dissertation, Chiang Mai: Graduate School, Chiang Mai University, 2009).</ref><ref>รุ่งโรจน์ ศรีรักษา, ศิริรัตน์ ดีศีลธรรม, อนุชิตา มุ่งงาม, & เกษศิริ นทร์ศักดิ์วิวัฒกุล. (2013). ฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรียและคุณสมบัติการทนความร้อนของแบคเทอริโอซินที่ผลิตจากคีเฟอร์. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences, 9(1), 231-235.</ref><ref>ศานต์ เศรษฐชัยมงคล, & อัญชิสา กุลทวีสุข. (2018). นมเปรี้ยวคีเฟอร์: เทคโนโลยีชีวภาพจากมุมมองวิทยาการด้านโอมิกส์ (Kefir: Biotechnology from “~ omics” Perspectives). Journal of Food Technology, Siam University, 13(1), 1-18.</ref>
({{lang-en|Kefir}}, {{lang-ru|Кефир}}) เป็น[[นมเปรี้ยว]]ชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้าย[[โยเกิร์ต]] เตรียมโดยใช้[[ยีสต์]]และ[[แบคทีเรีย]]ของเมล็ดคีเฟอร์ (kefir grains) มีต้นกำเนิดจาก[[ยุโรปตะวันออก]]และ[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]<ref name="Prado">{{cite journal | last=Prado | first=Maria R. | last2=Blandón | first2=Lina Marcela | last3=Vandenberghe | first3=Luciana P. S. | last4=Rodrigues | first4=Cristine | last5=Castro | first5=Guillermo R. | last6=Thomaz-Soccol | first6=Vanete | last7=Soccol | first7=Carlos R. | title=Milk kefir: composition, microbial cultures, biological activities, and related products | journal=Frontiers in Microbiology | volume=6 | date=30 October 2015 | issn=1664-302X | pmid=26579086 | pmc=4626640 | doi=10.3389/fmicb.2015.01177 | page=}}</ref> ซึ่งภูมิภาคนี้เตรียมคีเฟอร์โดย[[การปลูกเชื้อ]]ด้วยเมล็ดคีเฟอร์ใน[[นมวัว]] [[นมแพะ]] หรือ[[นมแกะ]]<ref name="Altay2013">{{cite journal|vauthors=Altay F, Karbancıoglu-Güler F, Daskaya-Dikmen C, Heperkan D |title=A review on traditional Turkish fermented non-alcoholic beverages: microbiota, fermentation process and quality characteristics|journal=Int J Food Microbiol|volume=167|issue=1|pages=44–56|date=October 2013|pmid=23859403|doi=10.1016/j.ijfoodmicro.2013.06.016}}</ref>
({{lang-en|Kefir}}, {{lang-ru|Кефир}}) เป็น[[นมเปรี้ยว]]ชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้าย[[โยเกิร์ต]] เตรียมโดยใช้[[ยีสต์]]และ[[แบคทีเรีย]]ของเมล็ดคีเฟอร์ (kefir grains) มีต้นกำเนิดจาก[[ยุโรปตะวันออก]]และ[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]<ref name="Prado">{{cite journal | last=Prado | first=Maria R. | last2=Blandón | first2=Lina Marcela | last3=Vandenberghe | first3=Luciana P. S. | last4=Rodrigues | first4=Cristine | last5=Castro | first5=Guillermo R. | last6=Thomaz-Soccol | first6=Vanete | last7=Soccol | first7=Carlos R. | title=Milk kefir: composition, microbial cultures, biological activities, and related products | journal=Frontiers in Microbiology | volume=6 | date=30 October 2015 | issn=1664-302X | pmid=26579086 | pmc=4626640 | doi=10.3389/fmicb.2015.01177 | page=}}</ref> ซึ่งภูมิภาคนี้เตรียมคีเฟอร์โดย[[การปลูกเชื้อ]]ด้วยเมล็ดคีเฟอร์ใน[[นมวัว]] [[นมแพะ]] หรือ[[นมแกะ]]<ref name="Altay2013">{{cite journal|vauthors=Altay F, Karbancıoglu-Güler F, Daskaya-Dikmen C, Heperkan D |title=A review on traditional Turkish fermented non-alcoholic beverages: microbiota, fermentation process and quality characteristics|journal=Int J Food Microbiol|volume=167|issue=1|pages=44–56|date=October 2013|pmid=23859403|doi=10.1016/j.ijfoodmicro.2013.06.016}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:56, 19 เมษายน 2562

คีเฟอร์
คีเฟอร์กำลังถูกเทลงแก้ว
ชื่ออื่นนมเปรี้ยวคีเฟอร์
ส่วนผสมหลักน้ำนม, เมล็ดคีเฟอร์ (แบคทีเรีย, ยีสต์, โปรตีน, ไขมัน, น้ำตาล)

คีเฟอร์ [1][2][3] (อังกฤษ: Kefir, รัสเซีย: Кефир) เป็นนมเปรี้ยวชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายโยเกิร์ต เตรียมโดยใช้ยีสต์และแบคทีเรียของเมล็ดคีเฟอร์ (kefir grains) มีต้นกำเนิดจากยุโรปตะวันออกและรัสเซีย[4] ซึ่งภูมิภาคนี้เตรียมคีเฟอร์โดยการปลูกเชื้อด้วยเมล็ดคีเฟอร์ในนมวัว นมแพะ หรือนมแกะ[5]

ชื่อและต้นกำเนิด

คำว่า “คีเฟอร์” ในภาษารัสเซียปรากฏขึ้นอย่างน้อยตั้งแต่ ค.ศ. 1867[6] อาจมาจากภาษารัสเซียหรือภาษาในยุโรปตะวันออก[4][7] หรืออาจมาจากภาษาใดภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาเตอร์กิก คือ köpür (แปลว่า ฟอง)[7] หรือจากภาษาเปอร์เซีย คือ kef (แปลว่า ฟอง)

ในอดีตคีเฟอร์เตรียมโดยการใช้ถุงหนังแพะที่แขวนใกล้ทางเข้าประตู ถุงเหล่านี้จะถูกตีไปมาด้วยประตูเวลาคนเดินเข้าออก การตีไปมานั้นทำให้ส่วนประกอบของคีเฟอร์ คือนมกับเมล็ดคีเฟอร์ ผสมเข้ากันดี[8] ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 21 คีเฟอร์ได้เป็นที่รู้จักทั่วยุโรป ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา[4][9][10] และเมื่อเป็นที่รู้จักในลาตินอเมริกา คนในกลุ่มประเทศนี้ก็เรียกคีเฟอร์ว่า búlgaros ซึ่งแปลว่า เครื่องดื่มบัลแกเรีย

อ้างอิง

  1. Kaewprasert, P. (2009). Production of kefir liked product from mix cultures of saccharomyces cerevisiae, streptococcus cremoris and streptococcus lactis= การผลิตผลิตภัณฑ์คล้ายคีเฟอร์จากเชื้อผสมของแซคคาโรมัยซีสเซเรวิสิอีม,สเตร็ปโตคอคคัสครีโมริสกับสเตร็ปโตคอคคัสแลคติส (Doctoral dissertation, Chiang Mai: Graduate School, Chiang Mai University, 2009).
  2. รุ่งโรจน์ ศรีรักษา, ศิริรัตน์ ดีศีลธรรม, อนุชิตา มุ่งงาม, & เกษศิริ นทร์ศักดิ์วิวัฒกุล. (2013). ฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรียและคุณสมบัติการทนความร้อนของแบคเทอริโอซินที่ผลิตจากคีเฟอร์. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences, 9(1), 231-235.
  3. ศานต์ เศรษฐชัยมงคล, & อัญชิสา กุลทวีสุข. (2018). นมเปรี้ยวคีเฟอร์: เทคโนโลยีชีวภาพจากมุมมองวิทยาการด้านโอมิกส์ (Kefir: Biotechnology from “~ omics” Perspectives). Journal of Food Technology, Siam University, 13(1), 1-18.
  4. 4.0 4.1 4.2 Prado, Maria R.; Blandón, Lina Marcela; Vandenberghe, Luciana P. S.; Rodrigues, Cristine; Castro, Guillermo R.; Thomaz-Soccol, Vanete; Soccol, Carlos R. (30 October 2015). "Milk kefir: composition, microbial cultures, biological activities, and related products". Frontiers in Microbiology. 6. doi:10.3389/fmicb.2015.01177. ISSN 1664-302X. PMC 4626640. PMID 26579086.
  5. Altay F, Karbancıoglu-Güler F, Daskaya-Dikmen C, Heperkan D (October 2013). "A review on traditional Turkish fermented non-alcoholic beverages: microbiota, fermentation process and quality characteristics". Int J Food Microbiol. 167 (1): 44–56. doi:10.1016/j.ijfoodmicro.2013.06.016. PMID 23859403.
  6. "Origin of KEFIR". Merriam-Webster Dictionary Online.
  7. 7.0 7.1 "The American Heritage® Dictionary of the English Language – kefir".
  8. Prescott; Harley; Klein (2008). Microbiology (7th ed.). London: McGraw–Hill. p. 1040. ISBN 978-0-07-110231-5.
  9. Sando, Lillian (September 2015). "Kefir Consumption—a Growing Culture". International Milk Genomics Consortium. สืบค้นเมื่อ 19 August 2017.
  10. Arslan, Seher (26 November 2014). "A review: chemical, microbiological and nutritional characteristics of kefir". CyTA – Journal of Food. 13 (3): 340–345. doi:10.1080/19476337.2014.981588.