ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุทซ์ชตัฟเฟิล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
|logo = Flag Schutzstaffel.svg
|logo = Flag Schutzstaffel.svg
|logo_width = 125px
|logo_width = 125px
|logo_caption = ธงชุทซ์ชตัฟเฟิล
|logo_caption = ธงองค์การ
|picture = Bundesarchiv Bild 183-H04436, Klagenfurt, Adolf Hitler, Ehrenkompanie.jpg
|picture = Bundesarchiv Bild 183-H04436, Klagenfurt, Adolf Hitler, Ehrenkompanie.jpg
|picture_width = 300px
|picture_width = 300px
|picture_caption = [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ตรวจ ''[[กองพลเอ็สเอ็สที่ 1 ไลป์สตันดาร์ท เอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|ไลป์สตันดาร์ท เอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]'' ครั้งเยือนเมืองคลาเกินฟวร์ท เมษายน ค.ศ. 1938 [[ไฮน์ริช ฮิมเลอร์]] ยืนอยู่ทางขวาข้างหลังฮิตเลอร์
|picture_caption = [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|ฮิตเลอร์]]ตรวจแถว[[กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 1 "ไลพ์ชตันดาร์เทอ เอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์"|กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 1]] <br>ครั้นเยือนเมือง[[คลาเกินฟวร์ท]] เมษายน ค.ศ. 1938
|formed = 4 เมษายน ค.ศ. 1925
|formed = 4 เมษายน ค.ศ. 1925
|preceding1 = [[ไฟล์:SA-Logo.svg|23px]] [[ชตวร์มอัพไทลุง]]
|preceding1 = [[ไฟล์:SA-Logo.svg|23px]] [[ชตวร์มอัพไทลุง]]
|preceding2 = [[กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 1 "ไลพ์ชตันดาร์เทอ เอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์"|ชตับส์วาเชอ]]
|preceding2 = [[1st SS Division Leibstandarte SS Adolf Hitler|Stabswache]]
|dissolved = 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
|dissolved = 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
|jurisdiction = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[นาซีเยอรมนี]]<br />[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง]]
|jurisdiction = {{flagcountry|Nazi Germany}} <br />[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง]]
|headquarters = ''[[SS-Hauptamt]]'', [[Niederkirchnerstraße|Prinz-Albrecht-Straße]], เบอร์ลิน
|headquarters = ถนนพรินซ์อัลเบร็คช์ กรุงเบอร์ลิน
|latd=52 |latm=30 |lats=26 |latNS=N
|latd=52 |latm=30 |lats=26 |latNS=N
|longd=13 |longm= 22|longs=57 |longEW= E
|longd=13 |longm= 22|longs=57 |longEW= E
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
|parent_agency = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]]
|parent_agency = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]]
|child1_agency = ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส ]]''
|child1_agency = ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส ]]''
|child2_agency = ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (''[[เอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์]]'')
|child2_agency = ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (''[[เอ็สเอ็ส-แฟร์ฟือกุงส์ทรุพเพอ]]'')
|child3_agency = ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ]]''
|child3_agency = ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ]]''
|child4_agency = [[สำนักความมั่นคงหลักของรัฐไรซ์|RSHA]] – ''[[ซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ]]'' (SiPo) และ ''[[ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์]]'' (SD)
|child4_agency = [[ทบวงกลางความมั่นคงไรช์]] <br>[[ซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ|ตำรวจความมั่นคง]] (SiPo) <br>[[ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์|ทบวงอำนวยความปลอดภัย]] (SD)
|child5_agency = [[ออร์ดนุงโพลีไซ]] (Orpo)
|child5_agency = [[ออร์ดนุงโพลีไซ|ตำรวจรักษาความสงบ]] (Orpo)
|keydocument1=
|keydocument1=
|website =
|website =
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
}}
}}
{{นาซี}}
{{นาซี}}
'''ชุทซ์ชตัฟเฟิล''' ({{lang-de|Schutzstaffel}}) หรือ '''''เอ็สเอ็ส''''' ({{lang|de|SS}}, [[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) เป็นองค์กร[[กำลังกึ่งทหาร]]สังกัด[[พรรคนาซี]]ภายใต้คำสั่งของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เดิมมีชื่อองค์กรว่า '''ซาล-ซุทซ์''' ({{lang|de|Saal-Schutz}}) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมือง[[มิวนิก]] เมื่อ[[ไฮน์ริช ฮิมเลอร์]]เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น "ชุทซ์ชตัฟเฟิล" เอ็สเอ็สภายใต้การนำของ[[ไฮน์ริช ฮิมเลอร์|ฮิมเลอร์]]ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมนี หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์
'''''ชุทซ์ชตัฟเฟิล''''' ({{lang-de|Schutzstaffel}}) หรือ '''''เอ็สเอ็ส''''' ({{lang|de|SS}}, [[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) เป็นองค์กร[[กำลังกึ่งทหาร]]สังกัด[[พรรคนาซี]]ภายใต้คำสั่งของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เดิมมีชื่อองค์กรว่า '''ซาล-ซุทซ์''' ({{lang|de|Saal-Schutz}}) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมือง[[มิวนิก]] เมื่อ[[ไฮน์ริช ฮิมเลอร์]]เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น "ชุทซ์ชตัฟเฟิล" เอ็สเอ็สภายใต้การนำของ[[ไฮน์ริช ฮิมเลอร์|ฮิมเลอร์]]ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมนี หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์


เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลัก ๆ คือ ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่าง ๆ ของพรรคนาซี และ ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ]]'' (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการ[[ค่ายมรณะ]]และ[[ค่ายกักกันนาซี]] เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า ''[[เกสตาโพ]]'' กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ[[ฟือเรอร์]]ที่เรียกว่า ''[[ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์]]'' ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งภายในและนอกแผ่นดินไรช์
เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลัก ๆ คือ ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่าง ๆ ของพรรคนาซี และ ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ]]'' (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการ[[ค่ายมรณะ]]และ[[ค่ายกักกันนาซี]] เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า ''[[เกสตาโพ]]'' กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ[[ฟือเรอร์]]ที่เรียกว่า ''[[ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์]]'' ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งภายในและนอกแผ่นดินไรช์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:00, 12 เมษายน 2562

ชุทซ์ชตัฟเฟิล
Schutzstaffel
ธงองค์การ

ฮิตเลอร์ตรวจแถวกองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 1
ครั้นเยือนเมืองคลาเกินฟวร์ท เมษายน ค.ศ. 1938
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง4 เมษายน ค.ศ. 1925
หน่วยงานก่อนหน้า
ยุบเลิก8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
ประเภทกำลังกึ่งทหาร
เขตอำนาจ ไรช์เยอรมัน
ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง
สำนักงานใหญ่ถนนพรินซ์อัลเบร็คช์ กรุงเบอร์ลิน
52°30′26″N 13°22′57″E / 52.50722°N 13.38250°E / 52.50722; 13.38250
บุคลากร1,250,000 (c. กุมภาพันธ์ 1945)
รัฐมนตรี
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
ต้นสังกัดนาซีเยอรมนี พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน
ลูกสังกัด

ชุทซ์ชตัฟเฟิล (เยอรมัน: Schutzstaffel) หรือ เอ็สเอ็ส (SS, "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมเลอร์เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น "ชุทซ์ชตัฟเฟิล" เอ็สเอ็สภายใต้การนำของฮิมเลอร์ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมนี หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์

เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลัก ๆ คือ อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่าง ๆ ของพรรคนาซี และ วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ เอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการค่ายมรณะและค่ายกักกันนาซี เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า เกสตาโพ กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำฟือเรอร์ที่เรียกว่า ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์ ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งภายในและนอกแผ่นดินไรช์

ประวัติ

เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "ซาล-ชุทซ์" (อารักษ์หอประชุม) เพื่อรักษาความปลอดภัยในการประชุมของพรรคนาซีตลอดจนเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของฮิตเลอร์[1] ต่อมาในปีค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจพร้อมกับความเคลือบแคลงใจในความภักดีของกองทัพเยอรมันที่มีต่อเขา กองกำลังที่เขาไว้ใจได้อย่างเต็มร้อยและจะไม่มีวันทรยศเขาอย่างเอ็สเอ็สจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการรักษาฐานอำนาจของฮิตเลอร์ อย่างไรก็ตาม พรรคนาซียังมีองค์กรติดอาวุธอีกองค์กรหนึ่งที่ชื่อว่า ชตวร์มอัพไทลุง อันเป็นแหล่งสุมหัวของอดีตทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งซึ่งนำโดยแอนสท์ เริม สหายเก่าแก่ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคนาซี

แอนสท์ เริม มีความคิดที่จะสถาปนาเอ็สเอเป็นขั้วอำนาจทางการเมืองใหม่และเข้าควบคุมไรชส์เวร์ และเริมยังสนับสนุนแนวคิด "การปฏิวัติครั้งที่สอง" ในเยอรมนี ความคิดเช่นนี้ของเริมให้ประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กกดดันฮิตเลอร์ให้ยุบเอ็สเอ ฮิตเลอร์พยายามเจรจากับแอนสท์ เริม ให้ยุบหน่วยเอ็สเอโดยดีแต่ก็ไม่ได้รับความร่วมมือ จึงนำไปสู่การกวาดล้างเอ็สเอในคืนมีดยาวในสิ้นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1934 เมื่อแอนสท์ เริม ถูกกำจัด ฮิตเลอร์ก็แต่งตั้งให้เอ็สเอ็สของฮิมเลอร์ทำหน้าที่คุ้มกันแทนเอ็สเอ

การคัดเลือก

การคัดเลือกสมาชิกที่จะมาเข้าหน่วยเอ็สเอ็สจะต้องเป็นชายสายเลือดเยอรมันพันธุ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอ็สเอ็สจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนียวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุดมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่ไรช์ที่สาม รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทั้งหมดให้เข้าหน่วยยุวชนฮิตเลอร์เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอ็สเอ็ส

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974

เชิงอรรถ

  • Lumsden, Robin (2002). A Collector's Guide To: The Allgemeine-SS. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2905-9.
  • MacDonogh, Giles (2009). After the Reich: The Brutal History of the Allied Occupation. New York: Basic Books. ISBN 978-0-46500-337-2
  • McNab, Chris (2009). The SS: 1923–1945. Amber Books. ISBN 978-1-906626-49-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Mollo, Andrew (1991). Uniforms of the SS: Volume 3: SS-Verfügungstruppe. Historical Research Unit. ISBN 1-872004-51-2.
  • Mühlenberg, Jutta (2011). Das SS-Helferinnenkorps: Ausbildung, Einsatz und Entnazifizierung der weiblichen Angehörigen der Waffen-SS, 1942–1949. Hamburg: Hamburger Edition HIS VerlagsgesmbH. Retrievable from: https://download.e-bookshelf.de/download/0000/3731/67/L-G-0000373167-0002317697.pdf ISBN 978-3-86854-500-5
  • Murray, Williamson, and Allan R. Millett (2001). A War To Be Won: Fighting the Second World War. Cambridge, MA: Belknap Press of Harvard University Press. ISBN 978-0-67400-680-5
  • "Organizations Book of the NSDAP for 1943", NCA, V, Washington, D.C. 1946: U.S. GPO, 1943
  • Rabinbach, Anson, and Sander L. Gilman (2013). The Third Reich Sourcebook. Berkeley & Los Angeles: University of California Press. ISBN 978-0-52020-867-4
  • Rummel, Rudolph (1992). Democide: Nazi Genocide and Mass Murder. New Brunswick, NJ: Transaction Publishers. ISBN 1-56000-004-X
  • Sereny, Gitta (1974). Into That Darkness: From Mercy Killings to Mass Murder. Republished (1983) as Into That Darkness: An Examination of Conscience. New York: Vintage. ISBN 0-394-71035-5
  • Stein, George H. (1984). The Waffen SS: Hitler's Elite Guard at War, 1939–1945. Cornell University Press. ISBN 0-8014-9275-0.
  • Weale, Adrian (2010). The SS: A New History. London: Little, Brown. ISBN 978-1-4087-0304-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Williams, Max (2001). Reinhard Heydrich: The Biography: Volume 1. Ulric Publishing. ISBN 0-9537577-5-7.
  • Yerger, Mark C. (1997). Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS. Schiffer Publishing. ISBN 0-7643-0145-4.

แหล่งข้อมูลอื่น