ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราลงกรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supphachoke Sukjamlong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
}}
}}


'''[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]ในรัชกาลที่ 10''' เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] เป็น '''พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' อย่างสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ปรากฏหมายกำหนดการดังต่อไปนี้ <ref> [http://www.prachachat.net/breaking-news/news-284926 เผยหมายกำหนดการ"พระราชพิธีบรมราชาภิเษก"แบบครบถ้วน] </ref>
'''[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]ในรัชกาลที่ 10''' เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] เป็น '''พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' อย่างสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี ซึ่งจะเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 [[พระบรมมหาราชวัง]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ภายหลัง[[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|การสวรรคต]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] สมเด็จพระบรมชนกนาถ แต่ทรงตอบรับเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ปีเดียวกัน โดยในวันนั้น พล.อ.[[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้แถลงผ่านทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]]ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่าควรดำเนินการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกภายหลังเสร็จสิ้น[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]แล้ว<ref>{{Cite web|url=http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/730121|title=พระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะมีขึ้นหลังถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ|author=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|website=www.bangkokbiznews.com|date=2 ธันวาคม 2559|accessdate=29 มีนาคม 2562}}</ref> จากนั้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เลขาธิการพระราชวังรับพระราชโองการเหนือเกล้าเหนือกระหม่อม ให้ประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า โดยที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จขึ้นทรงราชย์ตามคำกราบทูลเชิญของ[[ศาสตราจารย์พิเศษ]] [[พรเพชร วิชิตชลชัย]] ประธาน[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ปฏิบัติหน้าที่[[รายนามประธานรัฐสภาไทย|ประธานรัฐสภา]] (ในขณะนั้น) ในนามของปวงชนชาวไทยนั้น ทรงมีพระราชดำริว่า เป็นโอกาสอันควรที่จะได้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามพระราชประเพณี เพื่อความเป็นสวัสดิมงคลของประเทศชาติ และราชอาณาจักร ให้เป็นที่ชื่นชมยินดีของประชาชนผู้มีความหวังตั้งใจอยู่ทั่วกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-46726958 ในหลวง ร.10 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก]</ref><ref>[https://www.thairath.co.th/content/1458910 "ในหลวง"โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 4-6 พ.ค.2562]</ref> โดยมีรายละเอียดขั้นตอนดังนี้<ref> [http://www.prachachat.net/breaking-news/news-284926 เผยหมายกำหนดการ"พระราชพิธีบรมราชาภิเษก"แบบครบถ้วน]</ref>
== อารัมภบท ==
[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็น[[พระมหากษัตริย์ไทย]]องค์ที่ 10 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] โดยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เลขาธิการพระราชวังรับพระราชโองการเหนือเกล้าเหนือกระหม่อม ให้ประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า โดยที่ [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย ตามคำกราบทูลเชิญของประธาน[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ปฏิบัติหน้าที่[[รายนามประธานรัฐสภาไทย|ประธานรัฐสภา]] กราบบังคมทูลในนามของปวงชนชาวไทยนั้น

ทรงพระราชดำริว่า เป็นโอกาสอันควรที่จะได้ประกอบการ[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]] ตามพระราชประเพณี เพื่อความเป็นสวัสดิมงคลของประเทศชาติ และราชอาณาจักร ให้เป็นที่ชื่นชมยินดีของประชาชนผู้มีความหวังตั้งใจอยู่ทั่วกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-46726958 ในหลวง ร.10 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก]</ref><ref>[https://www.thairath.co.th/content/1458910 "ในหลวง"โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 4-6 พ.ค.2562]</ref> โดยมีรายละเอียดขั้นตอนดังหัวข้อถัดไป


== การเตรียมการ ==
== การเตรียมการ ==
=== เมษายน พ.ศ. 2562===
=== เมษายน พ.ศ. 2562 ===
* '''6 เมษายน''' - พลีกรรมตักน้ำจากแหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์ในกรุงเทพมหานคร และ 76 จังหวัด
* '''6 เมษายน''' - พลีกรรมตักน้ำจากแหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์ในกรุงเทพมหานคร และ 76 จังหวัด
* '''8 เมษายน''' - ประธานสงฆ์ประกาศชุมนุมเทวดาในการพิธีทำน้ำอภิเษกและจุดเทียนชัย ณ พระอารามหลวงประจำจังหวัด
* '''8 เมษายน''' - ประธานสงฆ์ประกาศชุมนุมเทวดาในการพิธีทำน้ำอภิเษกและจุดเทียนชัย ณ พระอารามหลวงประจำจังหวัด
บรรทัด 31: บรรทัด 28:
* '''28 เมษายน''' - ซ้อมใหญ่ริ้ว[[กระบวนพยุหยาตราสถลมารค]]
* '''28 เมษายน''' - ซ้อมใหญ่ริ้ว[[กระบวนพยุหยาตราสถลมารค]]


=== พฤษภาคม พ.ศ. 2562===
=== พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ===
* '''2 พฤษภาคม''' - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงถวายราชสักการะปฐมบรมราชานุสรณ์ [[สะพานพระพุทธยอดฟ้า]] พระบรมราชานุสรณ์ [[ลานพระราชวังดุสิต|พระลานพระราชวังดุสิต]] และเสด็จพระราชดำเนินบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์
* '''2 พฤษภาคม''' - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงถวายราชสักการะปฐมบรมราชานุสรณ์ [[สะพานพระพุทธยอดฟ้า]] พระบรมราชานุสรณ์ [[ลานพระราชวังดุสิต|พระลานพระราชวังดุสิต]] และเสด็จพระราชดำเนินบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์
* '''3 พฤษภาคม'''
* '''3 พฤษภาคม'''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:04, 29 มีนาคม 2562

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกใน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร
ไฟล์:KingRamaX.jpg
ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีฯ
วันที่4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
ที่ตั้งพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พิกัด13°45′01″N 100°29′32″E / 13.750146°N 100.492090°E / 13.750146; 100.492090
ผู้รายงานคนแรกสำนักพระราชวัง
ผู้เข้าร่วมพระบรมวงศานุวงศ์, สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 และประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 10 เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อย่างสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี ซึ่งจะเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระบรมชนกนาถ แต่ทรงตอบรับเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ปีเดียวกัน โดยในวันนั้น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้แถลงผ่านทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่าควรดำเนินการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกภายหลังเสร็จสิ้นพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชแล้ว[1] จากนั้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เลขาธิการพระราชวังรับพระราชโองการเหนือเกล้าเหนือกระหม่อม ให้ประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า โดยที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จขึ้นทรงราชย์ตามคำกราบทูลเชิญของศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่ประธานรัฐสภา (ในขณะนั้น) ในนามของปวงชนชาวไทยนั้น ทรงมีพระราชดำริว่า เป็นโอกาสอันควรที่จะได้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามพระราชประเพณี เพื่อความเป็นสวัสดิมงคลของประเทศชาติ และราชอาณาจักร ให้เป็นที่ชื่นชมยินดีของประชาชนผู้มีความหวังตั้งใจอยู่ทั่วกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น[2][3] โดยมีรายละเอียดขั้นตอนดังนี้[4]

การเตรียมการ

เมษายน พ.ศ. 2562

พฤษภาคม พ.ศ. 2562

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

4 พฤษภาคม

  • พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

เวลา 10.00 น. สรงมุรธาภิเษก ณ ชาลาพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน และทรงรับน้ำอภิเษก ณ พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ และทรงรับเครื่องราชกกุธภัณฑ์ขัตติยราชวราภรณ์ และพระแสง ณ พระที่นั่งภัทรบิฐ ภายในพระที่นั่งไพศาลทักษิณ

5 พฤษภาคม

6 พฤษภาคม

อ้างอิง

  1. กรุงเทพธุรกิจ (2 ธันวาคม 2559). "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะมีขึ้นหลังถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ". www.bangkokbiznews.com. สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. ในหลวง ร.10 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
  3. "ในหลวง"โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 4-6 พ.ค.2562
  4. เผยหมายกำหนดการ"พระราชพิธีบรมราชาภิเษก"แบบครบถ้วน

แหล่งข้อมูลอื่น