ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีดจิธแห่งเวสเซ็กซ์ สมเด็จพระราชินีแห่งเยอรมนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Darkydury (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''อีดจิธ''' ({{Lang-ang|Ædgyth}}, {{Lang-en|Eadgyth}}) หรือ '''อีดิธ''' ({{Lang-en|Edith}}) เป็นพระธิดาของ[...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:


'''อีดจิธ''' ({{Lang-ang|Ædgyth}}, {{Lang-en|Eadgyth}}) หรือ '''อีดิธ''' ({{Lang-en|Edith}}) เป็นพระธิดาของ[[เอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งเวสเซ็กซ์]]กับพระราชินีเอล์ฟลีด พระองค์สมรสกับ[[อ็อทโทที่ 1 มหาราช|พระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี]]
'''อีดจิธ''' ({{Lang-ang|Ædgyth}}, {{Lang-en|Eadgyth}}) หรือ '''อีดิธ''' ({{Lang-en|Edith}}) เป็นพระธิดาของ[[เอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งเวสเซ็กซ์]]กับพระราชินีเอล์ฟลีด พระองค์สมรสกับ[[อ็อทโทที่ 1 มหาราช|พระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี]]

<br />


== วัยเยาว์และการสมรส ==
== วัยเยาว์และการสมรส ==


อีดจิธเสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 911 ทรงเป็นพระธิดาของ[[เอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสแห่งเวสเซ็กซ์]] เอล์ฟลีด พระมารดาของพระองค์เป็นพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด
อีดจิธเสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 911 ทรงเป็นพระธิดาของ[[เอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสแห่งเวสเซ็กซ์]] เอล์ฟลีด พระมารดาของพระองค์เป็นพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด



ในปี ค.ศ. 929 [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 พรานล่านก]] ดยุคแห่ง[[ดัชชีซัคเซิน|ซัคเซิน]]และกษัตริย์แห่งเยอรมนี ([[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก|ราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]]) ได้ส่งราชทูตมายังราชสำนักอังกฤษของ[[พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอเธลสตาน]] พระเชษฐาต่างมารดาของอีดจิธ ที่แคนเทอร์บรีเพื่อขอผูกมิตรและขอเจ้าสาวมาสมรสกับ[[อ็อทโทที่ 1 มหาราช|ออทโท]]ผู้เป็นพระโอรส พระเจ้าไฮน์ริชกำลังสร้างสิทธิ์ชอบธรรมตามกฎหมายให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงและสร้างความเหนือกว่าให้แก่พระโอรสด้วยการจับให้สมรสกับเจ้าสาวจากราชวงศ์แซ็กซันที่แข็งแกร่งและมั่นคง ขณะที่พระเจ้าเอเธลสตานเองก็ต้องการมีบทบาทในการเมืองต่างแดนตามที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระบิดาได้เริ่มต้นไว้ พระขนิษฐาสองคนของพระองค์ได้ถูกจับสมรสกับบุคคลสำคัญบนพื้นทวีปไปแล้วสองคน คือ [[พระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3]] กษัตริย์ของชาวแฟรงก์และ[[อูกมหาราช|อูก]] เคานต์แห่งปารีสและดยุคของชาวแฟรงก์
ในปี ค.ศ. 929 [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 พรานล่านก]] ดยุคแห่ง[[ดัชชีซัคเซิน|ซัคเซิน]]และกษัตริย์แห่งเยอรมนี ([[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก|ราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]]) ได้ส่งราชทูตมายังราชสำนักอังกฤษของ[[พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอเธลสตาน]] พระเชษฐาต่างมารดาของอีดจิธ ที่แคนเทอร์บรีเพื่อขอผูกมิตรและขอเจ้าสาวมาสมรสกับ[[อ็อทโทที่ 1 มหาราช|ออทโท]]ผู้เป็นพระโอรส พระเจ้าไฮน์ริชกำลังสร้างสิทธิ์ชอบธรรมตามกฎหมายให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงและสร้างความเหนือกว่าให้แก่พระโอรสด้วยการจับให้สมรสกับเจ้าสาวจากราชวงศ์แซ็กซันที่แข็งแกร่งและมั่นคง ขณะที่พระเจ้าเอเธลสตานเองก็ต้องการมีบทบาทในการเมืองต่างแดนตามที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระบิดาได้เริ่มต้นไว้ พระขนิษฐาสองคนของพระองค์ได้ถูกจับสมรสกับบุคคลสำคัญบนพื้นทวีปไปแล้วสองคน คือ [[พระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3]] กษัตริย์ของชาวแฟรงก์และ[[อูกมหาราช|อูก]] เคานต์แห่งปารีสและดยุคของชาวแฟรงก์



อีดจิธกับพระขนิษฐาอีกหนึ่งคนซึ่งคาดว่าชื่ออีดกิฟูถูกส่งตัวไปที่ราชสำนักของพระเจ้าไฮน์ริชที่[[เควดลินบวร์ค]]ในซัคเซินในฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 929 โดยมีเซ็นวาลด์ บิชอปแห่งวุร์สเตอร์ร่วมเดินทางไปด้วยพร้อมกับของขวัญ, ทรัพย์สมบัติ และคณะผู้ติดตามมากมาย เมื่อไปถึง ออทโทต้องเลือกหนึ่งในหญิงสาวสองคน พระองค์เลือกอีดจิธ ออทโทเป็นทหารหนุ่มมากประสบการณ์วัย 27 พรรษา พระองค์กำลังสู้รบในศึกกับ[[ชาวสลาฟ]]และชาวฮังการี พิธีสมรสของทั้งคู่ถูกเฉลิมฉลองอย่างหรูหราและยิ่งใหญ่ในเควนลินบวร์คในปี ค.ศ 929/930 หลังซันเซินได้ชัยเหนือชาวสลาฟ พระขนิษฐาของอีดจิธถูกส่งตัวไปยัง[[เทือกเขาแอลป์]]เพื่อสมรสกับรูดอล์ฟที่ 2 ผู้รักสันติแห่งบูร์กอญ
อีดจิธกับพระขนิษฐาอีกหนึ่งคนซึ่งคาดว่าชื่ออีดกิฟูถูกส่งตัวไปที่ราชสำนักของพระเจ้าไฮน์ริชที่[[เควดลินบวร์ค]]ในซัคเซินในฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 929 โดยมีเซ็นวาลด์ บิชอปแห่งวุร์สเตอร์ร่วมเดินทางไปด้วยพร้อมกับของขวัญ, ทรัพย์สมบัติ และคณะผู้ติดตามมากมาย เมื่อไปถึง ออทโทต้องเลือกหนึ่งในหญิงสาวสองคน พระองค์เลือกอีดจิธ ออทโทเป็นทหารหนุ่มมากประสบการณ์วัย 27 พรรษา พระองค์กำลังสู้รบในศึกกับ[[ชาวสลาฟ]]และชาวฮังการี พิธีสมรสของทั้งคู่ถูกเฉลิมฉลองอย่างหรูหราและยิ่งใหญ่ในเควนลินบวร์คในปี ค.ศ 929/930 หลังซันเซินได้ชัยเหนือชาวสลาฟ พระขนิษฐาของอีดจิธถูกส่งตัวไปยัง[[เทือกเขาแอลป์]]เพื่อสมรสกับรูดอล์ฟที่ 2 ผู้รักสันติแห่งบูร์กอญ
<br />


== พระราชินีแห่งเยอรมนี ==
== พระราชินีแห่งเยอรมนี ==


คู่สามีภรรยาหนุ่มสาวได้เดินทางไปยัง[[ไรน์ลันท์]] พระเจ้าไฮน์ริชได้ประกาศชื่อออทโทเป็นทายาทของพระองค์ในช่วงปี ค.ศ. 927–929 อีดจิธได้ให้กำเนิดพระโอรสนามว่าลิวดอลฟ์ในปี ค.ศ. 930 และพระธิดานามว่าลิวด์การ์ดในปี ค.ศ. 931 หลังพระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 936 ออทโทได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีที่[[อาเคิน]]
คู่สามีภรรยาหนุ่มสาวได้เดินทางไปยัง[[ไรน์ลันท์]] พระเจ้าไฮน์ริชได้ประกาศชื่อออทโทเป็นทายาทของพระองค์ในช่วงปี ค.ศ. 927–929 อีดจิธได้ให้กำเนิดพระโอรสนามว่าลิวดอลฟ์ในปี ค.ศ. 930 และพระธิดานามว่าลิวด์การ์ดในปี ค.ศ. 931 หลังพระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 936 ออทโทได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีที่[[อาเคิน]]



เกิดความตึงเครียดขึ้นระหว่างออทโทและอีดจิธกับมาทิลดา พระมารดาของออทโท เมื่อสองสามีภรรยาได้ยึดสินเดิมของมาทิลดาและบีบให้พระนางออกจากราชสำนักไปเกษียณตัวอยู่ในที่ดินของพระนางเอกที่[[เวสต์ฟาเลีย]] มาทิลดาที่ไม่เคยได้รับการสวมมงกุฎอาจไม่พอใจอีดจิธที่ได้รับการเจิมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์เป็นพระราชินี มาทิลดาได้ให้การสนับสนุนไฮน์ริช พระโอรสซึ่งเป็นพระอนุชาของพระเจ้าออทโทในช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งภายในครอบครัวในคริสตทศวรรษ 940 จนเป็นเหตุให้เกิดความไม่ลงรอยกัน อีดจิธได้เข้ามาเป็นคนกลางช่วยให้มาทิลดากับออทโทคืนดีกันได้ในปี ค.ศ. 941 แต่มาทิลดาก็ไม่ได้กลับมาที่ราชสำนักจนกระทั่งอีดจิธสิ้นพระชนม์
เกิดความตึงเครียดขึ้นระหว่างออทโทและอีดจิธกับมาทิลดา พระมารดาของออทโท เมื่อสองสามีภรรยาได้ยึดสินเดิมของมาทิลดาและบีบให้พระนางออกจากราชสำนักไปเกษียณตัวอยู่ในที่ดินของพระนางเอกที่[[เวสต์ฟาเลีย]] มาทิลดาที่ไม่เคยได้รับการสวมมงกุฎอาจไม่พอใจอีดจิธที่ได้รับการเจิมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์เป็นพระราชินี มาทิลดาได้ให้การสนับสนุนไฮน์ริช พระโอรสซึ่งเป็นพระอนุชาของพระเจ้าออทโทในช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งภายในครอบครัวในคริสตทศวรรษ 940 จนเป็นเหตุให้เกิดความไม่ลงรอยกัน อีดจิธได้เข้ามาเป็นคนกลางช่วยให้มาทิลดากับออทโทคืนดีกันได้ในปี ค.ศ. 941 แต่มาทิลดาก็ไม่ได้กลับมาที่ราชสำนักจนกระทั่งอีดจิธสิ้นพระชนม์



ขณะดำรงตำแหน่งเป็นพระราชินี อีดจิธได้สร้างประโยชน์ให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงในหลายๆ ด้าน การเป็นพระมารดาของทายาทในบัลลังก์ทำให้พระองค์มีบทบาทสำคัญ ทรงยื่นมือเข้ามายุ่งเกี่ยวในกฎบัตรที่พระราชทานที่ดิน, อภิสิทธิ์ และของกำนัลมากมายให้แก่อารามโปรดของพระองค์และอนุสรณ์สถานแด่สตรีศักดิ์สิทธิ์และนักบุญ ทรงบริหารจัดการครัวเรือนหลวง การมีมัคเดอบวร์คเป็นส่วนหนึ่งในสินเดิมติดตัวทำให้ทรงมีบทบาทในการเมืองการปกครองของชาวแฟรงก์ พระองค์กับพระสวามีร่วมกันพัฒนามัคเดอบวร์คให้เป็นศูนย์กลางแห่งความทรงจำและเป็นสุสานฝังศพของครอบครัว พระองค์ยังคงติดต่อกับพระขนิษฐาในบูร์กอญ, กับอังกฤษ และกับพระเชษฐาต่างมารดา
ขณะดำรงตำแหน่งเป็นพระราชินี อีดจิธได้สร้างประโยชน์ให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงในหลายๆ ด้าน การเป็นพระมารดาของทายาทในบัลลังก์ทำให้พระองค์มีบทบาทสำคัญ ทรงยื่นมือเข้ามายุ่งเกี่ยวในกฎบัตรที่พระราชทานที่ดิน, อภิสิทธิ์ และของกำนัลมากมายให้แก่อารามโปรดของพระองค์และอนุสรณ์สถานแด่สตรีศักดิ์สิทธิ์และนักบุญ ทรงบริหารจัดการครัวเรือนหลวง การมีมัคเดอบวร์คเป็นส่วนหนึ่งในสินเดิมติดตัวทำให้ทรงมีบทบาทในการเมืองการปกครองของชาวแฟรงก์ พระองค์กับพระสวามีร่วมกันพัฒนามัคเดอบวร์คให้เป็นศูนย์กลางแห่งความทรงจำและเป็นสุสานฝังศพของครอบครัว พระองค์ยังคงติดต่อกับพระขนิษฐาในบูร์กอญ, กับอังกฤษ และกับพระเชษฐาต่างมารดา



อีดจิธสิ้นพระชนม์อย่างกระทันหันเมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 946 ร่างของพระองค์ถูกฝังที่อาสนวิหารในมัคเดอบวร์ค เมื่อจักรพรรดิออทโทสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างพระนาง ลิวดอลฟ์ พระโอรสของพระนางสิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา แต่พระปนัดดาของพระนางกลายเป็นจักรพรรดิคอนราดที่ 2 ผู้สถาปนาตั้งราชวงศ์ซาเลียนแห่ง[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
อีดจิธสิ้นพระชนม์อย่างกระทันหันเมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 946 ร่างของพระองค์ถูกฝังที่อาสนวิหารในมัคเดอบวร์ค เมื่อจักรพรรดิออทโทสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างพระนาง ลิวดอลฟ์ พระโอรสของพระนางสิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา แต่พระปนัดดาของพระนางกลายเป็นจักรพรรดิคอนราดที่ 2 ผู้สถาปนาตั้งราชวงศ์ซาเลียนแห่ง[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
<br />


== หลุมฝังศพ ==
== หลุมฝังศพ ==


ในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการเปิดหลุมฝังศพที่ค้นพบในอาสนวิหารมัคเดอบวร์ค ภายในโลงหินมีโลงศพตะกั่วและที่หลุมฝังศพมีชื่อ "อีดจิธ" ถูกจารึกไว้ ว่ากันว่าโลงศพถูกฝังใหม่ในปี ค.ศ. 1510 ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ภายในโลงศพถูกนำไปตรวจสอบแล้วส่งไปที่เมือง[[บริสตอล]] ประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 2010 เพื่อทำการทดสอบต่อไป
ในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการเปิดหลุมฝังศพที่ค้นพบในอาสนวิหารมัคเดอบวร์ค ภายในโลงหินมีโลงศพตะกั่วและที่หลุมฝังศพมีชื่อ "อีดจิธ" ถูกจารึกไว้ ว่ากันว่าโลงศพถูกฝังใหม่ในปี ค.ศ. 1510 ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ภายในโลงศพถูกนำไปตรวจสอบแล้วส่งไปที่เมือง[[บริสตอล]] ประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 2010 เพื่อทำการทดสอบต่อไป



ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ในโลงตะกั่วระบุได้ว่าเป็นของเพศหญิงอายุราว 30-40 ปีที่ขี่ม้าเป็นประจำและได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี อันเป็นการบ่งบอกว่าเธอมาจากชนชั้นสูง ผลการวิเคราะห์เคลือบฟันของโครงกระดูกแสดงให้ถึงที่มาของเธอว่ามาจากอังกฤษตอนใต้ซึ่งตรงกับบันทึกที่บอกว่าอีดจิธใช้ชีวิตช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นในเวสเซ็กซ์
ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ในโลงตะกั่วระบุได้ว่าเป็นของเพศหญิงอายุราว 30-40 ปีที่ขี่ม้าเป็นประจำและได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี อันเป็นการบ่งบอกว่าเธอมาจากชนชั้นสูง ผลการวิเคราะห์เคลือบฟันของโครงกระดูกแสดงให้ถึงที่มาของเธอว่ามาจากอังกฤษตอนใต้ซึ่งตรงกับบันทึกที่บอกว่าอีดจิธใช้ชีวิตช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นในเวสเซ็กซ์



การค้นพบแสดงให้เห็นว่าอีดจิธสูง 157 ซม. (5 ฟุต 2 นิ้ว) ซากกระดูกของขุดย้ายหลายครั้งก่อนจะลงเอยด้วยการฝังไว้ในอาสนวิารมัคเดอบวร์คในปี ค.ศ. 1510 หลังการวิเคราะห์ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ของพระองค์ถูกนำกลับไปฝังใหม่อีกครั้งที่อาสนวิหารมัคเดอบวร์คเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2010
การค้นพบแสดงให้เห็นว่าอีดจิธสูง 157 ซม. (5 ฟุต 2 นิ้ว) ซากกระดูกของขุดย้ายหลายครั้งก่อนจะลงเอยด้วยการฝังไว้ในอาสนวิารมัคเดอบวร์คในปี ค.ศ. 1510 หลังการวิเคราะห์ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ของพระองค์ถูกนำกลับไปฝังใหม่อีกครั้งที่อาสนวิหารมัคเดอบวร์คเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2010
<br />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

* [https://thefreelancehistorywriter.com/2014/04/25/eadgyth-queen-consort-of-germany-and-duchess-of-saxony/ Eadgyth, Queen Consort of Germany and Duchess of Saxony: The Freelance History Writer]
* [https://thefreelancehistorywriter.com/2014/04/25/eadgyth-queen-consort-of-germany-and-duchess-of-saxony/ Eadgyth, Queen Consort of Germany and Duchess of Saxony: The Freelance History Writer]
* [https://www.reuters.com/article/us-germany-princess/remains-of-saxon-princess-identified-in-germany-idUSTRE65G3HV20100617 Remains of Saxon princess identified in Germany: Reuters]
* [https://www.reuters.com/article/us-germany-princess/remains-of-saxon-princess-identified-in-germany-idUSTRE65G3HV20100617 Remains of Saxon princess identified in Germany: Reuters]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:44, 29 มีนาคม 2562

อีดจิธ (อังกฤษเก่า: Ædgyth, อังกฤษ: Eadgyth) หรือ อีดิธ (อังกฤษ: Edith) เป็นพระธิดาของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งเวสเซ็กซ์กับพระราชินีเอล์ฟลีด พระองค์สมรสกับพระเจ้าออทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี

วัยเยาว์และการสมรส

อีดจิธเสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 911 ทรงเป็นพระธิดาของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสแห่งเวสเซ็กซ์ เอล์ฟลีด พระมารดาของพระองค์เป็นพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด

ในปี ค.ศ. 929 พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 พรานล่านก ดยุคแห่งซัคเซินและกษัตริย์แห่งเยอรมนี (ราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก) ได้ส่งราชทูตมายังราชสำนักอังกฤษของพระเจ้าเอเธลสตาน พระเชษฐาต่างมารดาของอีดจิธ ที่แคนเทอร์บรีเพื่อขอผูกมิตรและขอเจ้าสาวมาสมรสกับออทโทผู้เป็นพระโอรส พระเจ้าไฮน์ริชกำลังสร้างสิทธิ์ชอบธรรมตามกฎหมายให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงและสร้างความเหนือกว่าให้แก่พระโอรสด้วยการจับให้สมรสกับเจ้าสาวจากราชวงศ์แซ็กซันที่แข็งแกร่งและมั่นคง ขณะที่พระเจ้าเอเธลสตานเองก็ต้องการมีบทบาทในการเมืองต่างแดนตามที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระบิดาได้เริ่มต้นไว้ พระขนิษฐาสองคนของพระองค์ได้ถูกจับสมรสกับบุคคลสำคัญบนพื้นทวีปไปแล้วสองคน คือ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 กษัตริย์ของชาวแฟรงก์และอูก เคานต์แห่งปารีสและดยุคของชาวแฟรงก์

อีดจิธกับพระขนิษฐาอีกหนึ่งคนซึ่งคาดว่าชื่ออีดกิฟูถูกส่งตัวไปที่ราชสำนักของพระเจ้าไฮน์ริชที่เควดลินบวร์คในซัคเซินในฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 929 โดยมีเซ็นวาลด์ บิชอปแห่งวุร์สเตอร์ร่วมเดินทางไปด้วยพร้อมกับของขวัญ, ทรัพย์สมบัติ และคณะผู้ติดตามมากมาย เมื่อไปถึง ออทโทต้องเลือกหนึ่งในหญิงสาวสองคน พระองค์เลือกอีดจิธ ออทโทเป็นทหารหนุ่มมากประสบการณ์วัย 27 พรรษา พระองค์กำลังสู้รบในศึกกับชาวสลาฟและชาวฮังการี พิธีสมรสของทั้งคู่ถูกเฉลิมฉลองอย่างหรูหราและยิ่งใหญ่ในเควนลินบวร์คในปี ค.ศ 929/930 หลังซันเซินได้ชัยเหนือชาวสลาฟ พระขนิษฐาของอีดจิธถูกส่งตัวไปยังเทือกเขาแอลป์เพื่อสมรสกับรูดอล์ฟที่ 2 ผู้รักสันติแห่งบูร์กอญ

พระราชินีแห่งเยอรมนี

คู่สามีภรรยาหนุ่มสาวได้เดินทางไปยังไรน์ลันท์ พระเจ้าไฮน์ริชได้ประกาศชื่อออทโทเป็นทายาทของพระองค์ในช่วงปี ค.ศ. 927–929 อีดจิธได้ให้กำเนิดพระโอรสนามว่าลิวดอลฟ์ในปี ค.ศ. 930 และพระธิดานามว่าลิวด์การ์ดในปี ค.ศ. 931 หลังพระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 936 ออทโทได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีที่อาเคิน

เกิดความตึงเครียดขึ้นระหว่างออทโทและอีดจิธกับมาทิลดา พระมารดาของออทโท เมื่อสองสามีภรรยาได้ยึดสินเดิมของมาทิลดาและบีบให้พระนางออกจากราชสำนักไปเกษียณตัวอยู่ในที่ดินของพระนางเอกที่เวสต์ฟาเลีย มาทิลดาที่ไม่เคยได้รับการสวมมงกุฎอาจไม่พอใจอีดจิธที่ได้รับการเจิมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์เป็นพระราชินี มาทิลดาได้ให้การสนับสนุนไฮน์ริช พระโอรสซึ่งเป็นพระอนุชาของพระเจ้าออทโทในช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งภายในครอบครัวในคริสตทศวรรษ 940 จนเป็นเหตุให้เกิดความไม่ลงรอยกัน อีดจิธได้เข้ามาเป็นคนกลางช่วยให้มาทิลดากับออทโทคืนดีกันได้ในปี ค.ศ. 941 แต่มาทิลดาก็ไม่ได้กลับมาที่ราชสำนักจนกระทั่งอีดจิธสิ้นพระชนม์

ขณะดำรงตำแหน่งเป็นพระราชินี อีดจิธได้สร้างประโยชน์ให้แก่ราชวงศ์ลิวดอลฟิงในหลายๆ ด้าน การเป็นพระมารดาของทายาทในบัลลังก์ทำให้พระองค์มีบทบาทสำคัญ ทรงยื่นมือเข้ามายุ่งเกี่ยวในกฎบัตรที่พระราชทานที่ดิน, อภิสิทธิ์ และของกำนัลมากมายให้แก่อารามโปรดของพระองค์และอนุสรณ์สถานแด่สตรีศักดิ์สิทธิ์และนักบุญ ทรงบริหารจัดการครัวเรือนหลวง การมีมัคเดอบวร์คเป็นส่วนหนึ่งในสินเดิมติดตัวทำให้ทรงมีบทบาทในการเมืองการปกครองของชาวแฟรงก์ พระองค์กับพระสวามีร่วมกันพัฒนามัคเดอบวร์คให้เป็นศูนย์กลางแห่งความทรงจำและเป็นสุสานฝังศพของครอบครัว พระองค์ยังคงติดต่อกับพระขนิษฐาในบูร์กอญ, กับอังกฤษ และกับพระเชษฐาต่างมารดา

อีดจิธสิ้นพระชนม์อย่างกระทันหันเมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 946 ร่างของพระองค์ถูกฝังที่อาสนวิหารในมัคเดอบวร์ค เมื่อจักรพรรดิออทโทสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างพระนาง ลิวดอลฟ์ พระโอรสของพระนางสิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา แต่พระปนัดดาของพระนางกลายเป็นจักรพรรดิคอนราดที่ 2 ผู้สถาปนาตั้งราชวงศ์ซาเลียนแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

หลุมฝังศพ

ในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการเปิดหลุมฝังศพที่ค้นพบในอาสนวิหารมัคเดอบวร์ค ภายในโลงหินมีโลงศพตะกั่วและที่หลุมฝังศพมีชื่อ "อีดจิธ" ถูกจารึกไว้ ว่ากันว่าโลงศพถูกฝังใหม่ในปี ค.ศ. 1510 ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ภายในโลงศพถูกนำไปตรวจสอบแล้วส่งไปที่เมืองบริสตอล ประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 2010 เพื่อทำการทดสอบต่อไป

ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ในโลงตะกั่วระบุได้ว่าเป็นของเพศหญิงอายุราว 30-40 ปีที่ขี่ม้าเป็นประจำและได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี อันเป็นการบ่งบอกว่าเธอมาจากชนชั้นสูง ผลการวิเคราะห์เคลือบฟันของโครงกระดูกแสดงให้ถึงที่มาของเธอว่ามาจากอังกฤษตอนใต้ซึ่งตรงกับบันทึกที่บอกว่าอีดจิธใช้ชีวิตช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นในเวสเซ็กซ์

การค้นพบแสดงให้เห็นว่าอีดจิธสูง 157 ซม. (5 ฟุต 2 นิ้ว) ซากกระดูกของขุดย้ายหลายครั้งก่อนจะลงเอยด้วยการฝังไว้ในอาสนวิารมัคเดอบวร์คในปี ค.ศ. 1510 หลังการวิเคราะห์ซากโครงกระดูกที่เหลืออยู่ของพระองค์ถูกนำกลับไปฝังใหม่อีกครั้งที่อาสนวิหารมัคเดอบวร์คเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2010

อ้างอิง