ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูเห่าพ่นพิษสยาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== ชนิด ==
== ชนิด ==
งูเห่าพ่นพิษที่พบในประเทศไทยสามารถจำแนกออกเป็น ชนิดต่าง ๆ ได้ตามถิ่นที่อยู่และสีลำตัว เช่น "งูเห่าพ่นพิษสยาม" หรือ "งูเห่าพ่นพิษด่าง" (''N. siamensis'' var. "Black & White") , "งูเห่าพ่นพิษอีสาน" (''N. siamensis'' var. "Greenish Brown") ที่มีความยาวประมาณ 0.6 เมตร นับว่าเป็นงูเห่าที่มีขนาดสั้นที่สุดที่พบในประเทศไทย มี[[สีเขียว]]หม่นหรือสีเขียวอมเทาทั่วตัว ลายปรากฏไม่ชัดเจน ดอกจันเป็นรูปตัว U เห็นชัดเจนกว่างูเห่าพ่นพิษสยาม เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีชนิดย่อยคือ [[งูเห่าพ่นพิษสีทอง]] (''N.'' siamensis ''sumartra'')
งูเห่าพ่นพิษที่พบในประเทศไทยสามารถจำแนกออกเป็น ชนิดต่าง ๆ ได้ตามถิ่นที่อยู่และสีลำตัว เช่น "งูเห่าพ่นพิษสยาม" หรือ "งูเห่าพ่นพิษด่าง" (''N. siamensis'' var. "Black & White") , "งูเห่าพ่นพิษอีสาน" (''N. siamensis'' var. "Greenish Brown") ที่มีความยาวประมาณ 0.6 เมตร นับว่าเป็นงูเห่าที่มีขนาดสั้นที่สุดที่พบในประเทศไทย มี[[สีเขียว]]หม่นหรือสีเขียวอมเทาทั่วตัว ลายปรากฏไม่ชัดเจน ดอกจันเป็นรูปตัว U เห็นชัดเจนกว่างูเห่าพ่นพิษสยาม เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีชนิดย่อยคือ [[งูเห่าพ่นพิษสีทอง]] (''N.'' siamensis ''sumartra''na)


== ถิ่นที่พบ ==
== ถิ่นที่พบ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:18, 27 มีนาคม 2562

งูเห่าพ่นพิษสยาม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Elapidae
สกุล: Naja
สปีชีส์: N.  siamensis
ชื่อทวินาม
Naja siamensis
Laurenti, 1768

งูเห่าพ่นพิษสยาม (อังกฤษ: Indo-Chinese cobra; ชื่อวิทยาศาสตร์: Naja siamensis) เป็นงูเห่าจำพวกงูเห่าพ่นพิษ กล่าวคือ เป็นงูเห่าที่สามารถพ่นพิษได้ โดยสามารถพ่นพิษได้ไกล ถึง 5 – 8 เมตร เมื่อพ่นน้ำพิษหมดแล้ว สามารถผลิตน้ำพิษได้ในเวลา 10 นาที ก็สามารถพ่นน้ำพิษใหม่ได้ ขณะชูคอแผ่แม่เบี้ยขู่ ก็จะอ้าปากเพื่อเตรียมพ่นพิษใส่ศัตรู จะมีรูของเขี้ยวพิษ อยู่ทางด้านหน้า เพื่อสะดวกในการฉีดพ่นพิษออกไป และถ้าพิษเข้าตา ไม่ทำให้ตาบอด ยกเว้นเวียแต่เราขยี้ตา ถ้าถูกพิษทางผิวหนังที่มีแผล ก็จะทำให้เกิดการอักเสบ แต่ไม่อันตรายมาก เพราะได้รับปริมาณพิษน้อย

ลักษณะ

ลักษณะรูปร่างทั่วไปจะคล้ายคลึงกับงูเห่าหม้อ (N. kaouthia) แต่มีลำตัวที่สั้นกว่า โดยจะยาวเฉลี่ย2 ถึง - 3เมตร มีความว่องไว นิสัยดุร้าย ดอกจันมักเป็นรูปตัว U หรือเลือนลางในบางตัว สีลำตัวบางตัวอาจมีลายดอกด่างขาว จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "งูเห่าพ่นพิษด่าง" หรือ "งูเห่าพ่นพิษขี้เรื้อน" เป็นต้น

ชนิด

งูเห่าพ่นพิษที่พบในประเทศไทยสามารถจำแนกออกเป็น ชนิดต่าง ๆ ได้ตามถิ่นที่อยู่และสีลำตัว เช่น "งูเห่าพ่นพิษสยาม" หรือ "งูเห่าพ่นพิษด่าง" (N. siamensis var. "Black & White") , "งูเห่าพ่นพิษอีสาน" (N. siamensis var. "Greenish Brown") ที่มีความยาวประมาณ 0.6 เมตร นับว่าเป็นงูเห่าที่มีขนาดสั้นที่สุดที่พบในประเทศไทย มีสีเขียวหม่นหรือสีเขียวอมเทาทั่วตัว ลายปรากฏไม่ชัดเจน ดอกจันเป็นรูปตัว U เห็นชัดเจนกว่างูเห่าพ่นพิษสยาม เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีชนิดย่อยคือ งูเห่าพ่นพิษสีทอง (N. siamensis sumartrana)

ถิ่นที่พบ

สำหรับในต่างประเทศ ยังมีงูเห่าพ่นพิษอีก 6 ชนิด พบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้ไปจรดถึงสิงคโปร์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Naja siamensis ที่วิกิสปีชีส์