ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กูดบาย เลนิน!"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| image =
| image =
| caption =
| caption =
| director = [[วูล์ฟกัง เบกเกอร์]]
| director = [[ว็อล์ฟกัง เบ็คเคอร์]]
| producer = สเตฟาน อาร์นต
| producer = ชเต็ฟฟัน อานท์
| writer = ว็อล์ฟกัง เบ็คเคอร์
| writer = วูล์ฟกัง เบกเกอร์
| narrator =
| narrator =
| starring = แดเนียล บรูห์ล<br />แคทริน ซาซ<br />ชูลแพน คามาโตวา<br />มาเรีย ไซมอน<br />อเล็กซานเดอร์ เบเยอร์<br />ฟลอเรียน ลูคาส
| starring = ดานีเอล บรืล<br />คาทรีน ซัส<br />ชุลปัน ฮามาโตวา<br />มารีอา ซีม็อน<br />อเล็คซันเดอร์ ไบเออร์<br />โฟลรีอาน ลูคัส
| music = [[อียาน ตีแยร์แซน]]<br />แกลร์ ปีแช<br />อันโตเนลโล มาราฟีโยตี
| music = [[ยานน์ เทียร์เซน]]
| cinematography = มาร์ติน คูคูลา
| cinematography = มาร์ทีน คูคูลา
| editing = ปีเตอร์ อาร์. แอดัม
| editing = เพเทอร์ แอร์. อาดัม
| distributor =
| distributor =
| released = 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003
| released = 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003
| runtime = 121 นาที
| runtime = 121 นาที
| country = {{GER}}
| country = {{GER}}
| language = ภาษาเยอรมัน
| language = [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]
| budget =
| budget =
| gross =
| gross =
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
}}
}}


'''กูดบาย เลนิน!''' ({{lang-de|Good Bye, Lenin!}}, ในประเทศไทย วางจำหน่ายวีซีดีในชื่อ "คุณแม่จู้จี้ คุณลูกขี้จุ๊") เป็นภาพยนตร์[[ภาษาเยอรมัน]]ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2546 เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน[[เยอรมนีตะวันออก]] ช่วงปี ค.ศ. 1989-1990 ระหว่างการล่มสลายของ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]] การทลาย[[กำแพงเบอร์ลิน]] และการรวมประเทศกับ[[เยอรมนีตะวันตก]] ในมุมมองผ่านชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัวหนึ่ง ที่ใช้ชีวิตอยู่ใน[[กรุงเบอร์ลิน]] ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่ขับเคลื่อนไปตามกลไก[[ทุนนิยม]] และกระแส[[บริโภคนิยม]]อย่างกะทันหัน <ref>[http://www.semsikkha.org/review/content/view/167/154/ Goodbye Lenin กู๊ดบาย เลนิน] วันวนัทธ์ วรภู, เสมสิกขา</ref>
'''กูดบาย เลนิน!''' ({{lang-de|Good Bye, Lenin!}}, ในประเทศไทย วางจำหน่ายวีซีดีในชื่อ "คุณแม่จู้จี้ คุณลูกขี้จุ๊") เป็นภาพยนตร์[[ภาษาเยอรมัน]]ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2546 เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน[[เยอรมนีตะวันออก]]ช่วงปี ค.ศ. 1989–1990 ระหว่างการล่มสลายของ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]] การทลาย[[กำแพงเบอร์ลิน]] และการรวมประเทศกับ[[เยอรมนีตะวันตก]] ในมุมมองผ่านชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัวหนึ่งที่ใช้ชีวิตอยู่ใน[[กรุงเบอร์ลิน]] ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ขับเคลื่อนไปตามกลไก[[ทุนนิยม]]และกระแส[[บริโภคนิยม]]อย่างกะทันหัน<ref>[http://www.semsikkha.org/review/content/view/167/154/ Goodbye Lenin กู๊ดบาย เลนิน] วันวนัทธ์ วรภู, เสมสิกขา</ref>


ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างถล่มทลายในประเทศเยอรมนี และยุโรป <ref>http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/newmovie/goodbyelenin/lenin.html</ref> ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม [[รางวัลบาฟตา]] และ[[รางวัลลูกโลกทองคำ]] และได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม [[รางวัลโกยา]] [[รางวัลซีซาร์]] และ[[รางวัลยูโรเปียนฟิล์ม]] <ref>http://www.imdb.com/title/tt0301357/awards</ref>
ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างถล่มทลายในประเทศเยอรมนีและยุโรป<ref>http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/newmovie/goodbyelenin/lenin.html</ref> ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม [[รางวัลบาฟตา]] และ[[รางวัลลูกโลกทองคำ]] และได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม [[รางวัลโกยา]] [[รางวัลซีซาร์]] และ[[รางวัลยูโรเปียนฟิล์ม]]<ref>http://www.imdb.com/title/tt0301357/awards</ref>


ในเรื่อง ผู้กำกับภาพยนตร์ได้อ้างถึงฉากที่มีชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่องอื่นหลายเรื่อง เช่นจาก ''[[2001: A Space Odyssey]]'' และ ''[[A Clockwork Orange]]'' ของ[[สแตนลีย์ คูบริก]], ''[[La Dolce Vita]]'' ของ[[เฟเดอริโก เฟลลินี]], ''La double vie de Véronique'' และ ''[[Three Colors|Trois Couleurs: Bleu]]'' ของ[[คริสซ์ตอฟ เคียสลอฟสกี้]] นอกจากนั้นยังมีกล่าวถึง ตัวอักษรสีเขียว แบบในภาพยนตร์ ''[[The Matrix]]''
ในเรื่อง ผู้กำกับภาพยนตร์ได้อ้างถึงฉากที่มีชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่องอื่นหลายเรื่อง เช่นจาก ''[[2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)|2001 จอมจักรวาล]]'' และ ''[[อะคล็อกเวิร์กออรินจ์]]'' ของ[[สแตนลีย์ คูบริก]], ''[[La Dolce Vita|ลาดอลเชวีตา]]'' ของ[[เฟเดรีโก เฟลลีนี]], ''ลาดูบล์วีเดอเวรอนิก'' และ ''[[ทรีคัลเลอรส์|ทรัวกูเลอร์: เบลอ]]'' ของ[[กชึชตอฟ กีแยชลอฟสกี]] นอกจากนั้นยังมีกล่าวถึงตัวอักษรสีเขียวแบบในภาพยนตร์ ''[[เดอะ เมทริกซ์ : เพาะพันธุ์มนุษย์เหนือโลก 2199]]''


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:55, 26 มีนาคม 2562

กูดบาย เลนิน!
กำกับว็อล์ฟกัง เบ็คเคอร์
เขียนบทว็อล์ฟกัง เบ็คเคอร์
อำนวยการสร้างชเต็ฟฟัน อานท์
นักแสดงนำดานีเอล บรืล
คาทรีน ซัส
ชุลปัน ฮามาโตวา
มารีอา ซีม็อน
อเล็คซันเดอร์ ไบเออร์
โฟลรีอาน ลูคัส
กำกับภาพมาร์ทีน คูคูลา
ตัดต่อเพเทอร์ แอร์. อาดัม
ดนตรีประกอบอียาน ตีแยร์แซน
แกลร์ ปีแช
อันโตเนลโล มาราฟีโยตี
วันฉาย9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003
ความยาว121 นาที
ประเทศธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ภาษาเยอรมัน

กูดบาย เลนิน! (เยอรมัน: Good Bye, Lenin!, ในประเทศไทย วางจำหน่ายวีซีดีในชื่อ "คุณแม่จู้จี้ คุณลูกขี้จุ๊") เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2546 เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเยอรมนีตะวันออกช่วงปี ค.ศ. 1989–1990 ระหว่างการล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ การทลายกำแพงเบอร์ลิน และการรวมประเทศกับเยอรมนีตะวันตก ในมุมมองผ่านชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัวหนึ่งที่ใช้ชีวิตอยู่ในกรุงเบอร์ลิน ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ขับเคลื่อนไปตามกลไกทุนนิยมและกระแสบริโภคนิยมอย่างกะทันหัน[1]

ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างถล่มทลายในประเทศเยอรมนีและยุโรป[2] ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม รางวัลบาฟตา และรางวัลลูกโลกทองคำ และได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลโกยา รางวัลซีซาร์ และรางวัลยูโรเปียนฟิล์ม[3]

ในเรื่อง ผู้กำกับภาพยนตร์ได้อ้างถึงฉากที่มีชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่องอื่นหลายเรื่อง เช่นจาก 2001 จอมจักรวาล และ อะคล็อกเวิร์กออรินจ์ ของสแตนลีย์ คูบริก, ลาดอลเชวีตา ของเฟเดรีโก เฟลลีนี, ลาดูบล์วีเดอเวรอนิก และ ทรัวกูเลอร์: เบลอ ของกชึชตอฟ กีแยชลอฟสกี นอกจากนั้นยังมีกล่าวถึงตัวอักษรสีเขียวแบบในภาพยนตร์ เดอะ เมทริกซ์ : เพาะพันธุ์มนุษย์เหนือโลก 2199

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น