ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทีมิส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ตามความเชื่อของกรีก ทีมิสเป็นผู้จัดระบบ "กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน"<ref>[http://lib.law.washington.edu/ref/themis.html (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice]</ref> ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิก[[โมเสส ไอ. ฟินลีย์]] (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า "Themis" ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดย[[โฮเมอร์]]ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมใน[[ยุคมืดกรีก]] (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:
ตามความเชื่อของกรีก ทีมิสเป็นผู้จัดระบบ "กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน"<ref>[http://lib.law.washington.edu/ref/themis.html (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice]</ref> ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิก[[โมเสส ไอ. ฟินลีย์]] (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า "Themis" ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดย[[โฮเมอร์]]ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมใน[[ยุคมืดกรีก]] (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:


<blockquote>"ทีมิส" เป็นคำที่แปลไม่ได้ [ทีมิส]คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง<ref>Finley, ''The World of Odysseus'', rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.</ref></blockquote>
<blockquote>"ทีมิส" เป็นคำที่แปลไม่ได้ [ทีมิส] คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง<ref>Finley, ''The World of Odysseus'', rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.</ref></blockquote>


ฟินลีย์กล่าวต่อไปว่า "ทีมิส" ปรากฏในประเพณี ธรรมเนียมพื้นบ้าน หรือ "[[mores]]" ที่ไม่ว่าจะใช้คำใดก็ตามต่างก็หมายถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของสิ่งที่กระทำหรือไม่กระทำ โลกของ[[โอดีสซุซ]]เป็นโลกที่มีความเชื่อที่วิวัฒนาการมาแล้วอย่างลึกซึ้งถึงสิ่งใดที่เหมาะและที่ควร"<ref>Finley, ''op. cit''. p. 82.</ref>
ฟินลีย์กล่าวต่อไปว่า "ทีมิส" ปรากฏในประเพณี ธรรมเนียมพื้นบ้าน หรือ "[[mores]]" ที่ไม่ว่าจะใช้คำใดก็ตามต่างก็หมายถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของสิ่งที่กระทำหรือไม่กระทำ โลกของ[[โอดีสซุซ]]เป็นโลกที่มีความเชื่อที่วิวัฒนาการมาแล้วอย่างลึกซึ้งถึงสิ่งใดที่เหมาะและที่ควร"<ref>Finley, ''op. cit''. p. 82.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:37, 21 มีนาคม 2562

ทีมิส

ทีมิส (อังกฤษ: Themis) เป็นเทพีในกลุ่มไททันตามเทพปกรณัมกรีกซึ่งได้รับการพรรณนาว่าสามารถ "ให้คำปรึกษาที่ดี" และเป็นบุคคลาธิษฐานของความสงบเรียบร้อย กฎหมาย และจารีตประเพณี คำว่า "Themis" แปลว่า "กฎสวรรค์" (divine law) ตรงกันข้ามกับกฎที่มนุษย์สร้างขึ้น และมีความหมายตามตัวว่า "อันซึ่งประดิษฐานไว้" (that which is put in place) มาจากคำกิริยา "τίθημι" แปลว่า "วาง" หรือ "ตั้ง" (to put)

ตามความเชื่อของกรีก ทีมิสเป็นผู้จัดระบบ "กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน"[1] ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิกโมเสส ไอ. ฟินลีย์ (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า "Themis" ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดยโฮเมอร์ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมในยุคมืดกรีก (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:

"ทีมิส" เป็นคำที่แปลไม่ได้ [ทีมิส] คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง[2]

ฟินลีย์กล่าวต่อไปว่า "ทีมิส" ปรากฏในประเพณี ธรรมเนียมพื้นบ้าน หรือ "mores" ที่ไม่ว่าจะใช้คำใดก็ตามต่างก็หมายถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของสิ่งที่กระทำหรือไม่กระทำ โลกของโอดีสซุซเป็นโลกที่มีความเชื่อที่วิวัฒนาการมาแล้วอย่างลึกซึ้งถึงสิ่งใดที่เหมาะและที่ควร"[3]

อ้างอิง

  1. (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice
  2. Finley, The World of Odysseus, rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.
  3. Finley, op. cit. p. 82.