ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พงษ์ศักดิิ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8169938 สร้างโดย พงษ์ศักดิิ์ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
'''เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ ''' (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาใน[[เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง]] เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับ[[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] พระโอรสของ[[เจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่าง[[เชียงตุง]]-[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
'''เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ ''' (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาใน[[เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง]] เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับ[[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] พระโอรสของ[[เจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่าง[[เชียงตุง]]-[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]


== พระประวัติ ==
== ประวัติ ==
=== ชีวิตตอนต้น ===
=== ชีวิตตอนต้น ===
เจ้าสุคันธาเป็นพระธิดาใน[[เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง]]ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ณ หอหลวงเมืองเชียงตุง โดยพระชนนีมีตำแหน่งเป็น "นางฟ้า"<ref name= "ศิลปะ">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_6687 |title= เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ สายใยรักสองราชสำนัก เชียงใหม่-เชียงตุง |author= สมโชติ อ๋องสกุล |date= 22 กุมภาพันธ์ 2560 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 10 กันยายน 2560 }}</ref> ทั้งเป็นลูกหลานข้าราชการในเชียงตุง และเป็นหลานตาพระยาแขก (ผู้ทำหน้าที่นำเจ้าฟ้าเมืองอื่นมาคำนับเจ้าฟ้าเชียงตุง)<ref name= "เอ็มไทย">{{cite web |url= http://talk.mthai.com/inbox/364820.html |title= คำให้สัมภาษณ์เจ้านางองค์สุดท้ายของเชียงตุง |author=|date= มกราคม 2556 |work= เอ็มไทย |publisher=|accessdate= 10 กันยายน 2560 }}</ref> เจ้าสุคันธาจะเรียกเจ้าพ่อว่า "ฟ้าหม่อม"<ref name= "ศิลปะ"/> มีพี่น้องร่วมมารดาคือ เจ้าแว่นแก้ว, [[เจ้าแว่นทิพย์ ณ เชียงตุง|เจ้าแว่นทิพย์]], เจ้าสิงห์ไชย และเจ้าแก้วเมืองมา<ref name= "ศิลปะ"/>
เจ้าสุคันธาเป็นพระธิดาใน[[เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง]]ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ณ หอหลวงเมืองเชียงตุง โดยพระชนนีมีตำแหน่งเป็น "นางฟ้า"<ref name= "ศิลปะ">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_6687 |title= เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ สายใยรักสองราชสำนัก เชียงใหม่-เชียงตุง |author= สมโชติ อ๋องสกุล |date= 22 กุมภาพันธ์ 2560 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 10 กันยายน 2560 }}</ref> ทั้งเป็นลูกหลานข้าราชการในเชียงตุง และเป็นหลานตาพระยาแขก (ผู้ทำหน้าที่นำเจ้าฟ้าเมืองอื่นมาคำนับเจ้าฟ้าเชียงตุง)<ref name= "เอ็มไทย">{{cite web |url= http://talk.mthai.com/inbox/364820.html |title= คำให้สัมภาษณ์เจ้านางองค์สุดท้ายของเชียงตุง |author=|date= มกราคม 2556 |work= เอ็มไทย |publisher=|accessdate= 10 กันยายน 2560 }}</ref> เจ้าสุคันธาจะเรียกเจ้าพ่อว่า "ฟ้าหม่อม"<ref name= "ศิลปะ"/> มีพี่น้องร่วมมารดาคือ เจ้าแว่นแก้ว, [[เจ้าแว่นทิพย์ ณ เชียงตุง|เจ้าแว่นทิพย์]], เจ้าสิงห์ไชย และเจ้าแก้วเมืองมา<ref name= "ศิลปะ"/>
บรรทัด 34: บรรทัด 34:


=== สมรส ===
=== สมรส ===
เจ้าสุคันธาได้รับการสู่ขอจาก[[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] พระโอรสของ[[เจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ โดยที่ทั้งสองพระองค์ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน หลังจากหมั้นได้แปดเดือนก็สมรสกัน<ref name= "เอ็มไทย"/> ณ หอคำเชียงตุง โดยมีเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงและเจ้านางปทุมมาเทวีเป็นเจ้าภาพเมื่อปี พ.ศ. 2476 ทั้งมีข้าหลวงอังกฤษผู้กำกับราชการนครเชียงตุงร่วมเป็นเกียรติในงาน<ref name= "ศิลปะ"/> หลังสมรสได้สิบวันได้เดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่โดยมี[[เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ|เจ้าฟ้าพรหมลือ]]กับเจ้านางบุญยวง (พระชายาของเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง) เสด็จมาส่ง<ref name= "เอ็มไทย"/> โดยเจ้าสุคันธามีลูกกับเจ้าอินทนนท์ 5 คน ได้แก่
เจ้าสุคันธาได้รับการสู่ขอจาก[[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] พระโอรสของ[[เจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ โดยที่ทั้งสองไม่เคยรู้จักกันมาก่อน หลังจากหมั้นได้แปดเดือนก็สมรสกัน<ref name= "เอ็มไทย"/> ณ หอคำเชียงตุง โดยมีเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงและเจ้านางปทุมมาเทวีเป็นเจ้าภาพเมื่อปี พ.ศ. 2476 ทั้งมีข้าหลวงอังกฤษผู้กำกับราชการนครเชียงตุงร่วมเป็นเกียรติในงาน<ref name= "ศิลปะ"/> หลังสมรสได้สิบวันได้เดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่โดยมี[[เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ|เจ้าฟ้าพรหมลือ]]กับเจ้านางบุญยวง (พระชายาของเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง) มาส่ง<ref name= "เอ็มไทย"/> โดยเจ้าสุคันธามีลูกกับเจ้าอินทนนท์ 5 คน ได้แก่
# เจ้ารัตนนินดนัย ณ เชียงใหม่
# เจ้ารัตนนินดนัย ณ เชียงใหม่
# เจ้าวิไลวรรณ ณ เชียงใหม่
# เจ้าวิไลวรรณ ณ เชียงใหม่
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
# เจ้าวีระยุทธ ณ เชียงใหม่
# เจ้าวีระยุทธ ณ เชียงใหม่


=== พิราลัย ===
=== เสียชีวิต ===
เจ้าสุคันธาถึงแก่พิราลัยด้วยโรคชราเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2546 สิริอายุ 93 ปี พระศพตั้งบำเพ็ญกุศลที่[[วัดเจดีย์หลวง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]], [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]พระราชทานพวงมาลา และได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานผ้าไตร 5 ชุด พร้อมพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ ณ ฌาปนกิจสถานสันกู่เหล็กเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2546<ref name= "ศิลปะ"/>
เจ้าสุคันธาเสียชีวิตด้วยโรคชราเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2546 สิริอายุ 93 ปี พระศพตั้งบำเพ็ญกุศลที่[[วัดเจดีย์หลวง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]], [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]พระราชทานพวงมาลา และได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานผ้าไตร 5 ชุด พร้อมพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ ณ ฌาปนกิจสถานสันกู่เหล็กเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2546<ref name= "ศิลปะ"/>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:07, 15 มีนาคม 2562

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่
ไฟล์:ID 37706 14.jpg
เกิดพ.ศ. 2456
เชียงตุง รัฐเชียงตุง (ในอารักขาของบริติช)
เสียชีวิต15 มกราคม พ.ศ. 2546 (93 ปี)
จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
คู่สมรสเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (2476−2534)
บุตรเจ้ารัตนนินดนัย ณ เชียงใหม่
เจ้าวิไลวรรณ ณ เชียงใหม่
เจ้าสรรพสมบูรณ์ ณ เชียงใหม่
เจ้าไพฑูรย์ศรี ณ เชียงใหม่
เจ้าวีระยุทธ ณ เชียงใหม่
บุพการีเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง
เจ้านางบัวทิพย์หลวง
ไฟล์:ID 37706 18.jpg
งานสมรสของเจ้าอินทนนท์กับเจ้าสุคันธา

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างเชียงตุง-เชียงใหม่

ประวัติ

ชีวิตตอนต้น

เจ้าสุคันธาเป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ณ หอหลวงเมืองเชียงตุง โดยพระชนนีมีตำแหน่งเป็น "นางฟ้า"[1] ทั้งเป็นลูกหลานข้าราชการในเชียงตุง และเป็นหลานตาพระยาแขก (ผู้ทำหน้าที่นำเจ้าฟ้าเมืองอื่นมาคำนับเจ้าฟ้าเชียงตุง)[2] เจ้าสุคันธาจะเรียกเจ้าพ่อว่า "ฟ้าหม่อม"[1] มีพี่น้องร่วมมารดาคือ เจ้าแว่นแก้ว, เจ้าแว่นทิพย์, เจ้าสิงห์ไชย และเจ้าแก้วเมืองมา[1]

ขณะอายุได้หกขวบ เจ้าพ่อก็จ้างครูมาสอนพิเศษภาษาไทเขิน และสามารถเลือกเรียนนาฏศิลป์ไทยและพม่าจากครูที่จ้างมาในวังได้ตามใจปรารถนา ต่อมาเมื่ออายุได้เก้าขวบจึงเข้าโรงเรียนประจำของศาสนาคริสต์ในเชียงตุง จึงเรียนรู้ภาษาพม่าและอังกฤษจากที่นั่น และร่ำเรียนจนจบชั้นที่หก หลังสำเร็จการศึกษาก็ทำงานเป็นเลขานุการิณีให้กับเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงร่วมกับเจ้าบัวสวรรค์และเจ้าทิพเกสรพี่สาวต่างมารดา[2]

สมรส

เจ้าสุคันธาได้รับการสู่ขอจากเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ โดยที่ทั้งสองไม่เคยรู้จักกันมาก่อน หลังจากหมั้นได้แปดเดือนก็สมรสกัน[2] ณ หอคำเชียงตุง โดยมีเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลงและเจ้านางปทุมมาเทวีเป็นเจ้าภาพเมื่อปี พ.ศ. 2476 ทั้งมีข้าหลวงอังกฤษผู้กำกับราชการนครเชียงตุงร่วมเป็นเกียรติในงาน[1] หลังสมรสได้สิบวันได้เดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่โดยมีเจ้าฟ้าพรหมลือกับเจ้านางบุญยวง (พระชายาของเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง) มาส่ง[2] โดยเจ้าสุคันธามีลูกกับเจ้าอินทนนท์ 5 คน ได้แก่

  1. เจ้ารัตนนินดนัย ณ เชียงใหม่
  2. เจ้าวิไลวรรณ ณ เชียงใหม่
  3. เจ้าสรรพสมบูรณ์ ณ เชียงใหม่
  4. เจ้าไพฑูรย์ศรี ณ เชียงใหม่
  5. เจ้าวีระยุทธ ณ เชียงใหม่

เสียชีวิต

เจ้าสุคันธาเสียชีวิตด้วยโรคชราเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2546 สิริอายุ 93 ปี พระศพตั้งบำเพ็ญกุศลที่วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีพระราชทานพวงมาลา และได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานผ้าไตร 5 ชุด พร้อมพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ ณ ฌาปนกิจสถานสันกู่เหล็กเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2546[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 สมโชติ อ๋องสกุล (22 กุมภาพันธ์ 2560). "เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ สายใยรักสองราชสำนัก เชียงใหม่-เชียงตุง". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "คำให้สัมภาษณ์เจ้านางองค์สุดท้ายของเชียงตุง". เอ็มไทย. มกราคม 2556. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)