ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทเมืองแขก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:ปราสาทเมืองแขก.jpg|thumb|ปราสาทเมืองแขก ภาพจากสถ.ชวนเที่ยว]]
[[ไฟล์:ปราสาทเมืองแขก.jpg|thumb|ปราสาทเมืองแขก ภาพจากสถ.ชวนเที่ยว]]
'''ปราสาทเมืองแขก''' เป็นปราสาทขอมที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในบ้านกกกอก ตำบลโคราช [[อำเภอสูงเนิน]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] ทว่าเหลือแต่เพียงซากฐานอาคาร พ.ศ. 2533 กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งครั้งล่าสุด ได้พบโบราณวัตถุหลายชิ้น ที่สำคัญคือทับหลังรูปเทวดานั่งในซุ้มเหนือหน้ากาล มีสถาปัตยกรรมแบบเกาะแกร์ในศิลปขอม ซึ่งเป็นยุคสมัยเดียวกับ[[ปราสาทโนนกู่]]ห่างกันประมาณ 500 ม.
'''ปราสาทเมืองแขก''' เป็นปราสาทขอมที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในบ้านกกกอก ตำบลโคราช [[อำเภอสูงเนิน]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] ทว่าเหลือแต่เพียงซากฐานอาคาร พ.ศ. 2533 กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งครั้งล่าสุด ได้พบโบราณวัตถุหลายชิ้น ที่สำคัญคือทับหลังรูปเทวดานั่งในซุ้มเหนือหน้ากาล มีสถาปัตยกรรมแบบเกาะแกร์ในศิลปขอม ซึ่งเป็นยุคสมัยเดียวกับ[[ปราสาทโนนกู่]]ห่างกันประมาณ 500 ม.
บรรทัด 9: บรรทัด 10:
== ที่ตั้งและการเดินทาง ==
== ที่ตั้งและการเดินทาง ==
 '''รถยนต์ส่วนตัว '''ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทโนนกู่ ห่างจากปราสาทโนนกู่ประมาณ 500 ม.
 '''รถยนต์ส่วนตัว '''ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทโนนกู่ ห่างจากปราสาทโนนกู่ประมาณ 500 ม.



{{สถานที่สมัยพระนคร}}
{{สถานที่สมัยพระนคร}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:51, 9 มีนาคม 2562

ไฟล์:ปราสาทเมืองแขก.jpg
ปราสาทเมืองแขก ภาพจากสถ.ชวนเที่ยว

ปราสาทเมืองแขก เป็นปราสาทขอมที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในบ้านกกกอก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ทว่าเหลือแต่เพียงซากฐานอาคาร พ.ศ. 2533 กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งครั้งล่าสุด ได้พบโบราณวัตถุหลายชิ้น ที่สำคัญคือทับหลังรูปเทวดานั่งในซุ้มเหนือหน้ากาล มีสถาปัตยกรรมแบบเกาะแกร์ในศิลปขอม ซึ่งเป็นยุคสมัยเดียวกับปราสาทโนนกู่ห่างกันประมาณ 500 ม.

สถาปัตยกรรม

เป็นปราสาทหินทรายผสมอิฐ แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆด้านนอกเป็นแนวคูน้ำขนานกับแนวคันดินเกือบรอบโบราณสถานทางด้านเหนือมีประตูหรือโคปุระ เป็นทางเดินเชื่อมไปยังด้านใน ซึ่งมีซากฐานปราสาทสามองค์ตั้งอยู่บนฐานเดียวกันโดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ 

พ้นจากแนวคูน้ำคันดินออกไปนอกสุด มีซากอาคารสองหลังสร้างหันหน้าเข้าหากัน อาคารทั้งสองหลังนี้มีแนวกำแพงล้อมรอบ เมื่อคราวที่กรมศิลปากรบูรณะ ได้พบทับหลังสลักลายก้านต่อดอกซึ่งเทียบได้กับลวดลายในศิลปะเขมรโบรณสมัยบันทายศรี ราวปี พ.ศ. 1510-1550 นอกจากนี้ยังพบศิลาจารึกที่ถูกนำมาก่อเป็นฐานประูตูซุ้มชั้นนอกระบุปี พ.ศ. 1514 และพ .ศ. 1517 นักโบราณคดีจึงสันนิษฐานจากหลักฐานที่พบทั้งหมดว่า ปราสาทแห่งนี้น่าจะเป็นศาสนสถาน ในคติฮินดูหรือพรามณ์ ที่สร้างขึ้นในราวพุูทธศตวรรษที่ 16 เพื่อประกอบพิธีกรรมถวายแด่พระศิวะ

ที่ตั้งและการเดินทาง

 รถยนต์ส่วนตัว ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทโนนกู่ ห่างจากปราสาทโนนกู่ประมาณ 500 ม.