ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวเนรา 3"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิงแล้ว
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox spaceflight
{{Infobox spaceflight
| name = เวเนรา 3
| name = เวเนรา 3
บรรทัด 48: บรรทัด 47:
'''เวเนรา 3''' ({{lang-ru|Венера-3}}) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดย[[สหภาพโซเวียต]] เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของ[[ดาวศุกร์]] โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2508]] จาก Baikonur [[คาซัคสถาน]]
'''เวเนรา 3''' ({{lang-ru|Венера-3}}) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดย[[สหภาพโซเวียต]] เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของ[[ดาวศุกร์]] โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2508]] จาก Baikonur [[คาซัคสถาน]]


ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมี[[ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต]]
ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ <ref>Mark Wade, [http://www.astronautix.com/v/venera3mv-3.html Venera 3MV-3], Austronautix.com. Retrieved 3 April 2018.</ref><ref>Gunter Krebs, [http://space.skyrocket.de/doc_sdat/venera-3mv-3.htm Venera 3 (3MV-3 #1)], Gunther's Space Page. Retrieved 3 April 2018.</ref> โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมี[[ตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต]]


ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชนกระแทก เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ ซึ่งพิกัดการลงจอดกระแทกน่าจะอยู่ที่พิกัด -20° to 20° N, 60° to 80° E อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานได้ล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก
ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชนกระแทก เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ ซึ่งพิกัดการลงจอดกระแทกน่าจะอยู่ที่พิกัด -20° to 20° N, 60° to 80° E อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานได้ล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก<ref name=v4>{{cite book|page=74|url=https://books.google.com/books?id=DulLuzqJLw8C&pg=PA74|title=New cosmic horizons|author=David Leverington|publisher=[[Cambridge University Press]]|year=2000|isbn=0-521-65833-0}}</ref><ref>{{cite web |url=http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/masterCatalog.do?sc=1965-092A |title=Venera 3 |publisher=[[NASA]]}}</ref>


เนื่องจาก[[ดาวศุกร์]] มีอุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ทำให้การลงจอดของยานสำรวจเวเนรารุ่นต่อๆไป ก็ยังเป็นอุปสรรค จนกระทั่ง [[เวเนร่า 7]] ที่ลำตัวของยานเป็น[[ไททาเนี่ยม]] สามารถลงจอดที่พื้นผิวอย่างนุ่มนวลได้สำเร็จเป็นลำแรกและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ 23 นาที
เนื่องจาก[[ดาวศุกร์]] มีอุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ทำให้การลงจอดของยานสำรวจเวเนรารุ่นต่อๆไป ก็ยังเป็นอุปสรรค จนกระทั่ง [[เวเนร่า 7]] ที่ลำตัวของยานเป็น[[ไททาเนี่ยม]] สามารถลงจอดที่พื้นผิวอย่างนุ่มนวลได้สำเร็จเป็นลำแรกและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ 23 นาที


==อ้างอิง==
{{เรียงลำดับ|วแนรา 3}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|เวเนรา 3}}
[[หมวดหมู่:ยานอวกาศ]]
[[หมวดหมู่:ยานอวกาศ]]
[[หมวดหมู่:ภารกิจสู่ดาวศุกร์]]
[[หมวดหมู่:ภารกิจสู่ดาวศุกร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:09, 1 มีนาคม 2562

เวเนรา 3
ประเภทภารกิจยานที่บินผ่านชั้นบรรยากาศดาวศุกร์
ผู้ดำเนินการOKB-1
COSPAR ID1965-092A
SATCAT no.1733
ระยะภารกิจ105 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศ3MV-3 No.1
ผู้ผลิตลาโวชกิน
มวลขณะส่งยาน960 kg (2,120 lb)
มวลหลังการลงจอด377 kg (831 lb)
ขนาด4.2 × 1.1 m (13.8 × 3.6 ft)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น16 November 1965, 04:19 (1965-11-16UTC04:19Z) UTC
จรวดนำส่งMolniya M
ฐานส่งBaikonur 31/6
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงแถบเฮลิโอเซนตริก
ระยะใกล้สุด0.68 AU
ระยะไกลสุด0.99 AU
ความเอียง4.29°
คาบการโคจร277 วัน
ปะทะ ดาวศุกร์ (ลงจอดล้มเหลว)
วันที่ปะทะ1 มีนาคม ค.ศ.1966
ตำแหน่งปะทะ20°N 80°E / 20°N 80°E / 20; 80
 

เวเนรา 3 (รัสเซีย: Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 จาก Baikonur คาซัคสถาน

ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ [1][2] โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมีตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต

ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชนกระแทก เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ ซึ่งพิกัดการลงจอดกระแทกน่าจะอยู่ที่พิกัด -20° to 20° N, 60° to 80° E อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานได้ล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก[3][4]

เนื่องจากดาวศุกร์ มีอุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ทำให้การลงจอดของยานสำรวจเวเนรารุ่นต่อๆไป ก็ยังเป็นอุปสรรค จนกระทั่ง เวเนร่า 7 ที่ลำตัวของยานเป็นไททาเนี่ยม สามารถลงจอดที่พื้นผิวอย่างนุ่มนวลได้สำเร็จเป็นลำแรกและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ 23 นาที

อ้างอิง

  1. Mark Wade, Venera 3MV-3, Austronautix.com. Retrieved 3 April 2018.
  2. Gunter Krebs, Venera 3 (3MV-3 #1), Gunther's Space Page. Retrieved 3 April 2018.
  3. David Leverington (2000). New cosmic horizons. Cambridge University Press. p. 74. ISBN 0-521-65833-0.
  4. "Venera 3". NASA.