ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8116567 สร้างโดย 2001:44C8:44C3:11F:1:1:4A43:8310 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
# [[ธนาคารกลาง]]
# [[ธนาคารกลาง]]
# [[ธนาคารพาณิชย์]]
# [[ธนาคารพาณิชย์]]
คีลิก


== หน้าที่ของธนาคารแต่ละประเภท ==
== หน้าที่ของธนาคารแต่ละประเภท ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:05, 13 กุมภาพันธ์ 2562

ธนาคาร คือสถาบันรับฝากเงินจากสาธารณชนทั่วไปและให้ผลตอบแทนเป็น ดอกเบี้ย เงินฝาก แล้วนำเงินที่รับฝากไปปล่อยให้หน่วยงานเอกชนหรือรัฐบาลกู้และรับผลตอบแทนมาเป็นดอกเบี้ยเงินกู้

ประเภทของธนาคาร

  1. ธนาคารกลาง
  2. ธนาคารพาณิชย์

หน้าที่ของธนาคารแต่ละประเภท

ธนาคารกลางทำหน้าที่ทางการเงินของประเทศ ภายใต้การควบคุมของกระทรวงการคลัง เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์โดยรวมของชาติ

  1. มีอำนาจออกธนบัตรและพิมพ์ธนบัตรขึ้นใช้
  2. รับฝากเงินจากหน่วยงานราชการต่าง ๆ และรัฐวิสาหกิจ
  3. รับฝากเงินจากธนาคารพาณิชย์
  4. ให้ธนาคารพาณิชย์กู้ยืมเงิน
  5. เป็นตัวแทนทางการเงินของรัฐบาล ในการติดต่อธนาคารโลก
  6. รักษาเสถียรภาพทางการเงินของรัฐบาล
  7. ควบคุมสินเชื่อ และเป็นตัวแทนของรัฐบาลในการกำกับดูแลและควบคุมธนาคารพาณิชย์

ประวัติธนาคารของไทย

วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2447 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งตอนนั้นได้ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ได้ทรงก่อตั้ง บุคคลับ (Book Club) ขึ้นที่ตึกแถวของพระคลังข้างที่ ตำบลบ้านหม้อ กรุงเทพฯ ที่นี่เป็นตันกำเนิดของธนาคารแห่งแรกของไทย คือ แบงก์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)ในปัจจุบันจะไม้มีการร่างกฎหมาย (หลังจากการเซ็นสัญญากับลูกค้า) เพื่อประโยชน์และความยุติธรรม หากมีการกระทำเช่นนั้นถือว่าไม่ใช้ระบบของธนาคารพาณิชย์