ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิอัสมาจารย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขบางส่วน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Laurentius de Voltolina 001.jpg|290px|right|thumb|การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14]]
[[ไฟล์:Laurentius de Voltolina 001.jpg|290px|right|thumb|การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14]]
'''อัสสมาจารย์นิยม''' ({{lang-en|Scholasticism}}) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการใน[[มหาวิทยาลัย]]ในยุโรป[[สมัยกลาง]] (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น<ref>See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., ''The Cambridge Companion to Medieval Philosophy'' (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, ''The Love of Learning and the Desire for God'' (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.</ref> อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนใน[[อาราม]]คริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่[[ประเทศอิตาลี]] [[ฝรั่งเศส]] [[สเปน]] และ[[อังกฤษ]] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้าน[[ศิลปศาสตร์]] [[นิติศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]] และ[[เทววิทยา]]<ref name="de Ridder-Symoens 1992, 47–55">de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55</ref> มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น [[มหาวิทยาลัยซาแลร์โน]] [[มหาวิทยาลัยโบโญญา]] และ[[มหาวิทยาลัยปารีส]]
'''อัสสมาจารย์นิยม''' ({{lang-en|Scholasticism}}) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการใน[[มหาวิทยาลัย]]ในยุโรป[[สมัยกลาง]] (ค.ศ. 1100-1700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น<ref>See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., ''The Cambridge Companion to Medieval Philosophy'' (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, ''The Love of Learning and the Desire for God'' (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.</ref> อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนใน[[อาราม]]คริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่[[ประเทศอิตาลี]] [[ฝรั่งเศส]] [[สเปน]] และ[[อังกฤษ]] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้าน[[ศิลปศาสตร์]] [[นิติศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]] และ[[เทววิทยา]]<ref name="de Ridder-Symoens 1992, 47–55">de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55</ref> มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น [[มหาวิทยาลัยซาแลร์โน]] [[มหาวิทยาลัยโบโลญญา]] และ[[มหาวิทยาลัยปารีส]]


นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น [[แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี]] [[อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์]] [[อัลแบร์ตุส มาญุส]] [[ดันส์ สโกตัส]] [[วิลเลียมแห่งออกคัม]] [[โบนาเวนตูรา]] และ[[ทอมัส อไควนัส]]
นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น [[แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี]] [[อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์]] [[อัลแบร์ตุส มาญุส]] [[ดันส์ สโกตัส]] [[วิลเลียมแห่งออกคัม]] [[โบนาเวนตูรา]] และ[[ทอมัส อไควนัส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:31, 4 กุมภาพันธ์ 2562

การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14

อัสสมาจารย์นิยม (อังกฤษ: Scholasticism) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยในยุโรปสมัยกลาง (ค.ศ. 1100-1700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น[1] อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนในอารามคริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเทววิทยา[2] มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น มหาวิทยาลัยซาแลร์โน มหาวิทยาลัยโบโลญญา และมหาวิทยาลัยปารีส

นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์ อัลแบร์ตุส มาญุส ดันส์ สโกตัส วิลเลียมแห่งออกคัม โบนาเวนตูรา และทอมัส อไควนัส

อ้างอิง

  1. See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., The Cambridge Companion to Medieval Philosophy (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, The Love of Learning and the Desire for God (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.
  2. de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55