ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแก้ปัญหายิวครั้งสุดท้าย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ </ref>
→‎อ้างอิง: โลจิสติกส์
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
'''การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย''' หรือ '''มาตรการสุดท้าย''' ({{lang-en|Final Solution}} ; {{lang-de|Die Endlösung}}) เป็นแผน[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]สำหรับ[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์|การฆ่าล้างเผ่าพันธ์]]ุหรือการกำจัด[[ชาวยิว]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] "มาตรการสุดท้ายของ[[ปัญหาชาวยิว]]" เป็นชื่อรหัสนามอย่างเป็นทางสำหรับการสังหารชาวยิวทั้งหมดในการบรรลุถึง ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่ที่ทวีปยุโรป<ref>{{cite book |last=Browning i |first=Christopher |year=2007 |title=The Origins of the Final Solution: The Evolution of Nazi Jewish Policy, September 1939 – March 1942|publisher= U of Nebraska Press. "In a brief two years between the autumn of 1939 and the autumn of 1941, Nazi Jewish policy escalated rapidly from the pre-war policy of forced emigration to the Final Solution as it is now understood—the systematic attempt to murder every last Jew within the German grasp.}}</ref> นโยบายนี้เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยเจตนาและอย่างเป็นระบบ ได้มีการเริ่มต้นไปทั่วทั้ง[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง|ดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน]]เป็นการกำหนดในขั้นตอนและข้อตกลงทางภูมิศาสตร์-การเมืองโดยผู้นำนาซีในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ที่[[การประชุมที่วันเซ]]ที่ถูกจัดขึ้นใกล้กับกรุงเบอร์ลิน<ref name=Wannsee>{{cite web |title=Wannsee Conference and the Final Solution |url=http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005477 |accessdate=30 March 2015 |publisher=[[United States Holocaust Memorial Museum]] }}</ref> และถึงจุดสูงสุดของ[[ฮอโลคอสต์]] ซึ่งได้แสดงให้เห็นถึง[[ฮอโลคอสต์ในโปแลนด์|การสังหารชาวยิวเชื้อสายโปล 90%]]<ref name="Wyman">{{cite book |title=The World Reacts to the Holocaust |author1=David S. Wyman |author2=Charles H. Rosenzveig |publisher=JHU Press |year=1996 |page=99 |url=https://books.google.com/books?id=U6KVOsjpP0MC&q=%2290+percent%22#v=snippet&q=%2290%20percent%22&f=false |isbn=0801849691}}</ref> และสองในสามของประชากรชาวยิวในยุโรป<ref name=Museum>{{cite web |title='Final Solution': Overview |url=http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005151 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130302130042/http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005151 |archive-date=2 March 2013 |accessdate=5 February 2016 |publisher= United States Holocaust Memorial Museum |author=Holocaust Encyclopedia}}</ref>
'''การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย''' หรือ '''มาตรการสุดท้าย''' ({{lang-en|Final Solution}} ; {{lang-de|Die Endlösung}}) เป็นแผน[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]สำหรับ[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์|การฆ่าล้างเผ่าพันธ์]]ุหรือการกำจัด[[ชาวยิว]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] "มาตรการสุดท้ายของ[[ปัญหาชาวยิว]]" เป็นชื่อรหัสนามอย่างเป็นทางสำหรับการสังหารชาวยิวทั้งหมดในการบรรลุถึง ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่ที่ทวีปยุโรป<ref>{{cite book |last=Browning i |first=Christopher |year=2007 |title=The Origins of the Final Solution: The Evolution of Nazi Jewish Policy, September 1939 – March 1942|publisher= U of Nebraska Press. "In a brief two years between the autumn of 1939 and the autumn of 1941, Nazi Jewish policy escalated rapidly from the pre-war policy of forced emigration to the Final Solution as it is now understood—the systematic attempt to murder every last Jew within the German grasp.}}</ref> นโยบายนี้เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยเจตนาและอย่างเป็นระบบ ได้มีการเริ่มต้นไปทั่วทั้ง[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง|ดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน]]เป็นการกำหนดในขั้นตอนและข้อตกลงทางภูมิศาสตร์-การเมืองโดยผู้นำนาซีในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ที่[[การประชุมที่วันเซ]]ที่ถูกจัดขึ้นใกล้กับกรุงเบอร์ลิน<ref name=Wannsee>{{cite web |title=Wannsee Conference and the Final Solution |url=http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005477 |accessdate=30 March 2015 |publisher=[[United States Holocaust Memorial Museum]] }}</ref> และถึงจุดสูงสุดของ[[ฮอโลคอสต์]] ซึ่งได้แสดงให้เห็นถึง[[ฮอโลคอสต์ในโปแลนด์|การสังหารชาวยิวเชื้อสายโปล 90%]]<ref name="Wyman">{{cite book |title=The World Reacts to the Holocaust |author1=David S. Wyman |author2=Charles H. Rosenzveig |publisher=JHU Press |year=1996 |page=99 |url=https://books.google.com/books?id=U6KVOsjpP0MC&q=%2290+percent%22#v=snippet&q=%2290%20percent%22&f=false |isbn=0801849691}}</ref> และสองในสามของประชากรชาวยิวในยุโรป<ref name=Museum>{{cite web |title='Final Solution': Overview |url=http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005151 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130302130042/http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=10005151 |archive-date=2 March 2013 |accessdate=5 February 2016 |publisher= United States Holocaust Memorial Museum |author=Holocaust Encyclopedia}}</ref>


ลักษณะและระยะเวลาของการตัดสินใจที่นำไปสู่มาตรการสุดท้ายเป็นประเด็นที่ได้รับการศึกษาวิจัยและถกเถียงกันอย่างเข้มข้นของฮอโลคอสต์ โครงการที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วง 25 เดือนแรกของสงครามที่นำไปสู่ความพยายาม"การสังหารครั้งสุดท้ายต่อชาวยิวในอำนาจของเยอรมัน"<ref name=Browning424>{{harvp|Browning|2004|p=[https://books.google.com/books?id=d9Wg4gjtP3cC&lpg=PA424&vq=%22murdering%20every%20last%20Jew%20in%20the%20German%20grasp%22&pg=PA424#v=onepage&q&f=false 424]}}.</ref> นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ได้เห็นด้วย, นักเขียน Christopher Browning, ว่ามาตรการสุดท้ายไม่สามารถนำมาประกอบกับการตัดสินใจครั้งเดียวที่ทำขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง{{r|Browning424}} "เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ากระบวนการตัดสินใจเป็นเวลานานและเพิ่มขึ้น"<ref name=Browning213>p|Browning|2004|p=213}}.</ref> ในปี ค.ศ. 1940 หลัง[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส|ฝรั่งเศสถูกยึดครอง]] [[อาด็อล์ฟ ไอช์มัน]]ได้คิดค้น[[แผนมาดากัสการ์]]เพื่อโยกย้ายประชากรชาวยิวในยุโรปไปยังอาณานิคมฝรั่งเศส แต่แผนดังกล่าวถูกละเลยด้วยเหตุผลทางด้านโลจอสติกส์ ส่วนใหญ่มาจาก[[การปิดกั้นเยอรมนี (ค.ศ. 1939-1945)|การปิดล้อมทางทะเล]]<ref name="CRB/Path">{{cite book |last=Browning |first=Christopher R. |authorlink=Christopher Browning |title=The Path to Genocide: Essays on Launching the Final Solution |year=1995 |publisher=Cambridge University Press |url=https://books.google.com/books?id=L1O2ZvS29DYC |via=Google Books |isbn=978-0-521-55878-5 |ref=harv |pages=18–19, 127–128}}</ref> นอกจากนี้ยังได้มีแผนเบื้องต้นเพื่อเนรเทศชาวยิวไปยัง[[ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)|ปาเลสไตน์]]และ[[ไซบีเรีย]]{{sfn|Niewyk|Nicosia|2000|p=76}} ในปี ค.ศ. 1941 นักเขียน Raul Hilberg, ในช่วงแรกของการสังหารหมู่ [[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน|หน่วยสังหารเคลื่อนที่]]ได้เริ่มแสวงหาเหยื่อข้ามดินแดนตะวันออกที่ถูกยึดครอง ในขั้นตอนที่สอง, ได้เริ่มต้นไปทั่วทั้งดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน เหยื่อชาวยิวที่ถูกรวบรวมจะถูกส่งโดย[[รถไฟฮอโลคอสต์|รถไฟมรณะ]]เพื่อไปยัง[[ค่ายมรณะ]]ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบของมาตรการสุดท้าย<ref name=Hilberg273>{{harvp|Hilberg|1985|p=273}}</ref>
ลักษณะและระยะเวลาของการตัดสินใจที่นำไปสู่มาตรการสุดท้ายเป็นประเด็นที่ได้รับการศึกษาวิจัยและถกเถียงกันอย่างเข้มข้นของฮอโลคอสต์ โครงการที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วง 25 เดือนแรกของสงครามที่นำไปสู่ความพยายาม"การสังหารครั้งสุดท้ายต่อชาวยิวในอำนาจของเยอรมัน"<ref name=Browning424>{{harvp|Browning|2004|p=[https://books.google.com/books?id=d9Wg4gjtP3cC&lpg=PA424&vq=%22murdering%20every%20last%20Jew%20in%20the%20German%20grasp%22&pg=PA424#v=onepage&q&f=false 424]}}.</ref> นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ได้เห็นด้วย, นักเขียน Christopher Browning, ว่ามาตรการสุดท้ายไม่สามารถนำมาประกอบกับการตัดสินใจครั้งเดียวที่ทำขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง{{r|Browning424}} "เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ากระบวนการตัดสินใจเป็นเวลานานและเพิ่มขึ้น"<ref name=Browning213>p|Browning|2004|p=213}}.</ref> ในปี ค.ศ. 1940 หลัง[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส|ฝรั่งเศสถูกยึดครอง]] [[อาด็อล์ฟ ไอช์มัน]]ได้คิดค้น[[แผนมาดากัสการ์]]เพื่อโยกย้ายประชากรชาวยิวในยุโรปไปยังอาณานิคมฝรั่งเศส แต่แผนดังกล่าวถูกละเลยด้วยเหตุผลทางด้านโลจิสติกส์ ส่วนใหญ่มาจาก[[การปิดกั้นเยอรมนี (ค.ศ. 1939-1945)|การปิดล้อมทางทะเล]]<ref name="CRB/Path">{{cite book |last=Browning |first=Christopher R. |authorlink=Christopher Browning |title=The Path to Genocide: Essays on Launching the Final Solution |year=1995 |publisher=Cambridge University Press |url=https://books.google.com/books?id=L1O2ZvS29DYC |via=Google Books |isbn=978-0-521-55878-5 |ref=harv |pages=18–19, 127–128}}</ref> นอกจากนี้ยังได้มีแผนเบื้องต้นเพื่อเนรเทศชาวยิวไปยัง[[ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)|ปาเลสไตน์]]และ[[ไซบีเรีย]]{{sfn|Niewyk|Nicosia|2000|p=76}} ในปี ค.ศ. 1941 นักเขียน Raul Hilberg, ในช่วงแรกของการสังหารหมู่ [[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน|หน่วยสังหารเคลื่อนที่]]ได้เริ่มแสวงหาเหยื่อข้ามดินแดนตะวันออกที่ถูกยึดครอง ในขั้นตอนที่สอง, ได้เริ่มต้นไปทั่วทั้งดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน เหยื่อชาวยิวที่ถูกรวบรวมจะถูกส่งโดย[[รถไฟฮอโลคอสต์|รถไฟมรณะ]]เพื่อไปยัง[[ค่ายมรณะ]]ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบของมาตรการสุดท้าย<ref name=Hilberg273>{{harvp|Hilberg|1985|p=273}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:48, 31 มกราคม 2562

มาตรการสุดท้าย
ตามที่จดหมายจากเอ็สเอ็ส-โอเบอร์กรุพเพินฟือเรอร์ ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช ถึง Ministerialdirektor Martin Luther ได้ถามถึงความช่วยเหลือจากฝ่ายบริหารปกครองในการดำเนินให้บรรลุของมาตรการสุดท้ายถึงปัญหาชาวยิว,วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942
หรือเป็นที่รู้จักEndlösung der Judenfrage
สถานที่ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง
วันที่1941–1945
รูปแบบการกำจัดชาวยิว, การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
ผู้ทำนาซีเยอรมนี
ผู้ร่วมชุทซ์ชตัฟเฟิล (SS), ตำรวจมั่นคง (ซีโพ), เกสตาโพ, ครีมีนาลโพลีทไซ (ครีโพ), เอสดี, และวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส
เกตโตเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี; ยิวเกตโตในโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน และสหภาพโซเวียต

การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย หรือ มาตรการสุดท้าย (อังกฤษ: Final Solution ; เยอรมัน: Die Endlösung) เป็นแผนนาซีสำหรับการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุหรือการกำจัดชาวยิวในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง "มาตรการสุดท้ายของปัญหาชาวยิว" เป็นชื่อรหัสนามอย่างเป็นทางสำหรับการสังหารชาวยิวทั้งหมดในการบรรลุถึง ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่ที่ทวีปยุโรป[1] นโยบายนี้เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยเจตนาและอย่างเป็นระบบ ได้มีการเริ่มต้นไปทั่วทั้งดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมันเป็นการกำหนดในขั้นตอนและข้อตกลงทางภูมิศาสตร์-การเมืองโดยผู้นำนาซีในเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ที่การประชุมที่วันเซที่ถูกจัดขึ้นใกล้กับกรุงเบอร์ลิน[2] และถึงจุดสูงสุดของฮอโลคอสต์ ซึ่งได้แสดงให้เห็นถึงการสังหารชาวยิวเชื้อสายโปล 90%[3] และสองในสามของประชากรชาวยิวในยุโรป[4]

ลักษณะและระยะเวลาของการตัดสินใจที่นำไปสู่มาตรการสุดท้ายเป็นประเด็นที่ได้รับการศึกษาวิจัยและถกเถียงกันอย่างเข้มข้นของฮอโลคอสต์ โครงการที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วง 25 เดือนแรกของสงครามที่นำไปสู่ความพยายาม"การสังหารครั้งสุดท้ายต่อชาวยิวในอำนาจของเยอรมัน"[5] นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ได้เห็นด้วย, นักเขียน Christopher Browning, ว่ามาตรการสุดท้ายไม่สามารถนำมาประกอบกับการตัดสินใจครั้งเดียวที่ทำขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง[5] "เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ากระบวนการตัดสินใจเป็นเวลานานและเพิ่มขึ้น"[6] ในปี ค.ศ. 1940 หลังฝรั่งเศสถูกยึดครอง อาด็อล์ฟ ไอช์มันได้คิดค้นแผนมาดากัสการ์เพื่อโยกย้ายประชากรชาวยิวในยุโรปไปยังอาณานิคมฝรั่งเศส แต่แผนดังกล่าวถูกละเลยด้วยเหตุผลทางด้านโลจิสติกส์ ส่วนใหญ่มาจากการปิดล้อมทางทะเล[7] นอกจากนี้ยังได้มีแผนเบื้องต้นเพื่อเนรเทศชาวยิวไปยังปาเลสไตน์และไซบีเรีย[8] ในปี ค.ศ. 1941 นักเขียน Raul Hilberg, ในช่วงแรกของการสังหารหมู่ หน่วยสังหารเคลื่อนที่ได้เริ่มแสวงหาเหยื่อข้ามดินแดนตะวันออกที่ถูกยึดครอง ในขั้นตอนที่สอง, ได้เริ่มต้นไปทั่วทั้งดินแดนยุโรปที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน เหยื่อชาวยิวที่ถูกรวบรวมจะถูกส่งโดยรถไฟมรณะเพื่อไปยังค่ายมรณะที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบของมาตรการสุดท้าย[9]

อ้างอิง

  1. Browning i, Christopher (2007). The Origins of the Final Solution: The Evolution of Nazi Jewish Policy, September 1939 – March 1942. U of Nebraska Press. "In a brief two years between the autumn of 1939 and the autumn of 1941, Nazi Jewish policy escalated rapidly from the pre-war policy of forced emigration to the Final Solution as it is now understood—the systematic attempt to murder every last Jew within the German grasp.
  2. "Wannsee Conference and the Final Solution". United States Holocaust Memorial Museum. สืบค้นเมื่อ 30 March 2015.
  3. David S. Wyman; Charles H. Rosenzveig (1996). The World Reacts to the Holocaust. JHU Press. p. 99. ISBN 0801849691.
  4. Holocaust Encyclopedia. "'Final Solution': Overview". United States Holocaust Memorial Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2013. สืบค้นเมื่อ 5 February 2016.
  5. 5.0 5.1 Browning (2004), p. 424.
  6. p|Browning|2004|p=213}}.
  7. Browning, Christopher R. (1995). The Path to Genocide: Essays on Launching the Final Solution. Cambridge University Press. pp. 18–19, 127–128. ISBN 978-0-521-55878-5 – โดยทาง Google Books. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  8. Niewyk & Nicosia 2000, p. 76.
  9. Hilberg (1985), p. 273
  • สัญชัย สุวังบุตร. สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม E-F

ดูเพิ่ม