ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาลมีกิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kosfsadewrdf (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kosfsadewrdf (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{commonscat|Valmiki|ฤๅษีวาลมีกิ}}
{{commonscat|Valmiki|ฤๅษีวาลมีกิ}}
{{Authority control|BNE=XX1146448|BNF=cb11927528q|CINII=DA00341351|GND=118840274|ISNI=0000 0000 8632 9106|LCCN=n80036601|NDL=00459480|SUDOC=027175235|VIAF=288016626}}
{{Authority control|BIBSYS=90273690|BNE=XX1146448|BNF=cb11927528q|CINII=DA00341351|GND=118840274|ISNI=0000 0000 8632 9106|LCCN=n80036601|NDL=00459480|SUDOC=027175235|VIAF=288016626}}


[[หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:37, 29 มกราคม 2562

ฤๅษีวาลมีกิ

ฤๅษีวาลมีกิ (สันสกฤต: वाल्मीकि มีชีวิตอยู่ในช่วงประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล[1]) เป็นนักบวชฮินดู นักประพันธ์วรรณกรรมภาษาสันสกฤต ซึ่งที่โด่งดังที่สุดคือรามายณะ

เดิมทีฤๅษีวาลมีกิอยู่ในวรรณะพราหมณ์ แต่ชอบคบหาสมาคมกับโจรป่า จากนั้นก็แต่งงานกับโจรป่า จึงทำให้กลายเป็นโจรป่าไปด้วย และได้ปล้นสดมฆ่าคนมามากมาย จนครั้งหนึ่งได้ไปพบกับ สัปตะฤๅษี (ฤๅษี ทั้ง 7) สัปตะฤๅษีก็ได้บอกล่าวถึงบาปบุญคุณโทษให้ฤๅษีวาลมีกิฟัง แล้วเกิดการสำนึกผิดขึ้นมา อยากออกบวช สัปตะฤๅษีจึงบอกวิธีแก้ไขให้ คือ ต้องภาวนามันตราศักดิ์สิทธิ์ว่า "เฮ ราม" จากนั้นสัปตะฤๅษีก็จากไป ฤๅษีวาลมีกิท่องมันตราศักดิ์สิทธิ์จนครบ 1,000 ปี จนเกิดจอมปลวกห่อคลุมร่าง แล้วสัปตะฤๅษีก็มาปรากฏให้เห็นอีกครั้ง แล้วบอกฤๅษีวาลมีกิว่า "เจ้าภาวนาสำเร็จแล้ว" จากนั้นพระพรหม ก็ปรากฏพระวรกายให้ฤๅษีวาลมีกิเห็นและประทานโองการว่า "วาลมีกิ ถ้าเจ้าอยากลบล้างบาป ที่เจ้าเคยเป็นโจรป่าแล้วฆ่าคนมามากมาย เจ้าต้องบันทึกเรื่องราวของ พระราม โดยการตั้งชื่อ รามายณะ ส่วนเรื่องราว ฤๅษีนารทมุนี จะเป็นคนเล่าเรื่องให้เจ้าฟัง แล้วให้เจ้าเป็นผู้บันทึกเอง" จากนั้นฤๅษีวาลมีกิก็ เริ่มบันทึกเรื่องราวของพระราม โดยมาจากวาทะของฤๅษีนารทมุนี และ นิทานพระราม จนเป็นคัมภีร์รามายณะ จนถึงทุกวันนี้ [ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. Julia Leslie, Authority and Meaning in Indian Religions: Hinduism and the Case of Valmiki, Ashgate (2003), p. 154. ISBN 0754634310