ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โกอากาจะฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Goa Gajah-Elephant Cave Entrance.jpeg|thumb|right|ทางเข้าปูราโกอากาจะฮ์]]
[[ไฟล์:Goa Gajah-Elephant Cave Entrance.jpeg|thumb|right|ทางเข้าปูราโกอากาจะฮ์]]
[[ไฟล์:Ubud.GoaGajah.Fountain.Detail.jpg|thumb|right|บริเวณคล้ายโรงอาบน้ำภายในวัด]]
[[ไฟล์:Ubud.GoaGajah.Fountain.Detail.jpg|thumb|right|บริเวณคล้ายโรงอาบน้ำภายในเทวาลัย]]
[[ไฟล์:Goa Gajah-Bathing Temple-Fountains Close-up.jpeg|thumb|right|รูปปั้นสตรีถือหม้อน้ำ]]
[[ไฟล์:Goa Gajah-Bathing Temple-Fountains Close-up.jpeg|thumb|right|รูปปั้นสตรีถือหม้อน้ำ]]


'''โกอากาจะฮ์''' ({{lang-id|Goa Gajah}}; "ถ้ำช้าง") หรือ '''ปูราโกอากาจะฮ์''' ({{lang|id|Pura Goa Gajah}}) เป็นโบราณสถานใกล้เมือง[[อูบุด]] บน[[เกาะบาหลี]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 เพื่อเป็นศาสนสถาน<ref>Davison, J. et al. (2003)</ref>
'''โกอากาจะฮ์''' ({{lang-id|Goa Gajah}}; "ถ้ำช้าง") หรือ '''ปุราโกอากาจะฮ์''' ({{lang-id|Pura Goa Gajah}}) เป็น[[ปุรา]] (โบสถ์พราหมณ์แบบบาหลี) และโบราณสถานใกล้เมือง[[อูบุด]] บน[[เกาะบาหลี]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 เพื่อเป็นศาสนสถาน<ref>Davison, J. et al. (2003)</ref>


วัดแห่งนี้โดดเด่นจากรูปสลักหินที่มีใบหน้าถมึงทึง สันนิษฐานว่าสร้างเพื่อให้ขับไล่สิ่งชั่วร้าย ครั้งหนึ่งเชื่อกันว่ารูปสลักหินหลักนั้นเป็นรูปช้าง จึงเป็นที่มาของชื่อเล่นว่า ''วัดถ้ำช้าง'' แต่บางกลุ่มเชื่อว่าวัดนี้ตั้งชื่อตามรูปสลัก[[พระพิฆเนศวร]] (ผู้มีพระเศียรเป็นช้าง) ซึ่งตั้งอยู่ภายในวัด<ref>{{Cite news|url=http://www.bali-indonesia.com/magazine/goa-gajah.htm|title=Elephant Cave in Bali - Goa Gajah - Bali Magazine|work=bali-indonesia.com|access-date=2018-06-13|language=en-US}}</ref> วัดแห่งนี้ได้รับการกล่าวถึงใน ''Nagarakretagama'' หรือ ''Desawarnana'' ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ของชวาที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1365 ภายในวัดมีสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายโรงอาบน้ำ ได้รับการขุดค้นในคริสต์ทศวรรษ 1950<ref>Pringle, R. (2004) p 61</ref> เพื่อที่จะไปถึงทางเข้าถ้ำ จำเป็นต้องเดินลงบันไดหลายขั้น ไม่มีทางเข้าสำหรับบุคคลทุพพลภาพ<ref>{{Cite news|url=https://www.adventureswithchildren.com/bali-vacation-guide-kids/|title=Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children|date=2018-06-12|work=Adventures With Children|access-date=2018-06-13|language=en-US}}</ref> ภายในวัดมีขนาดเล็กและอบอวลไปด้วยควันขาวจากธูป<ref>{{Cite news|url=https://www.adventureswithchildren.com/bali-vacation-guide-kids/|title=Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children|date=2018-06-12|work=Adventures With Children|access-date=2018-06-13|language=en-US}}</ref> สถานที่แห่งนี้ไม่อนุญาตให้สตรีสวมกางเกงขาสั้นเข้าไป แต่ทางวัดมีผ้า[[โสร่ง]]ให้ยืม วัดนี้ยังมีรูปปั้นสตรี 7 รูป (หนึ่งในนั้นถูกแผ่นดินไหวทำลายไปแล้ว) กำลังถือหม้อน้ำเทน้ำลงตรงกลางบ่อ สื่อถึงแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ 7 สายใน[[ชมพูทวีป]]ตาม[[ฤคเวท]] คือ [[แม่น้ำคงคา]] [[แม่น้ำสรัสวดี]] [[แม่น้ำยมุนา]] [[แม่น้ำโคทาวรี]] [[แม่น้ำสินธุ]] [[แม่น้ำกาเวรี]] และ[[แม่น้ำนรรมทา]]
เทวาลัยแห่งนี้โดดเด่นจากรูปสลักหินที่มีใบหน้าถมึงทึง สันนิษฐานว่าสร้างเพื่อให้ขับไล่สิ่งชั่วร้าย ครั้งหนึ่งเชื่อกันว่ารูปสลักหินหลักนั้นเป็นรูปช้าง จึงเป็นที่มาของชื่อเล่นว่า ''ปุราถ้ำช้าง'' แต่บางกลุ่มเชื่อว่าเทวาลัยนี้ตั้งชื่อตามรูปสลัก[[พระพิฆเนศ]] ซึ่งตั้งอยู่ภายใน<ref>{{Cite news|url=http://www.bali-indonesia.com/magazine/goa-gajah.htm|title=Elephant Cave in Bali - Goa Gajah - Bali Magazine|work=bali-indonesia.com|access-date=2018-06-13|language=en}}</ref> เทวาลัยแห่งนี้ได้รับการกล่าวถึงใน ''Nagarakretagama'' หรือ ''Desawarnana'' ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ของชวาที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1365 ภายในเทวาลัยมีสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายโรงอาบน้ำ ได้รับการขุดค้นในคริสต์ทศวรรษ 1950<ref>Pringle, R. (2004) p 61</ref> เพื่อที่จะไปถึงทางเข้าถ้ำ จำเป็นต้องเดินลงบันไดหลายขั้น ไม่มีทางเข้าสำหรับบุคคลทุพพลภาพ<ref>{{Cite news|url=https://www.adventureswithchildren.com/bali-vacation-guide-kids/|title=Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children|date=2018-06-12|work=Adventures With Children|access-date=2018-06-13|language=en}}</ref> ภายในเทวาลัยมีขนาดเล็กและอบอวลไปด้วยควันขาวจากธูป<ref>{{Cite news|url=https://www.adventureswithchildren.com/balix6ik-vacation-guide-kids/|title=Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children|date=2018-06-12|work=Adventures With Children|access-date=2018-06-13|language=en}}</ref> สถานที่แห่งนี้ไม่อนุญาตให้สตรีสวมกางเกงขาสั้นเข้าไป แต่ทางเทวาลัยมีผ้า[[โสร่ง]]ให้ยืม เทวาลัยนี้ยังมีรูปปั้นสตรี 7 รูป (หนึ่งในนั้นถูกแผ่นดินไหวทำลายไปแล้ว) กำลังถือหม้อน้ำเทน้ำลงตรงกลางบ่อ สื่อถึงแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ 7 สายใน[[ชมพูทวีป]]ตาม[[ฤคเวท]] คือ [[แม่น้ำคงคา]] [[แม่น้ำสรัสวดี]] [[แม่น้ำยมุนา]] [[แม่น้ำโคทาวรี]] [[แม่น้ำสินธุ]] [[แม่น้ำกาเวรี]] และ[[แม่น้ำนรรมทา]]


ปัจจุบันวัดแห่งนี้ได้รับการขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (tentative list) เพื่อพิจารณาเป็น[[แหล่งมรดกโลก]]ในอนาคต
ปัจจุบันเทวาลัยแห่งนี้ได้รับการขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (tentative list) เพื่อพิจารณาเป็น[[แหล่งมรดกโลก]]ในอนาคต


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่}}

[[หมวดหมู่:จังหวัดบาหลี]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในประเทศอินโดนีเซีย]]
[[หมวดหมู่:ปุรา]]
[[หมวดหมู่:วัดบาหลี]]
[[หมวดหมู่:ถ้ำ]]
[[หมวดหมู่:ถ้ำ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:02, 27 มกราคม 2562

ทางเข้าปูราโกอากาจะฮ์
บริเวณคล้ายโรงอาบน้ำภายในเทวาลัย
รูปปั้นสตรีถือหม้อน้ำ

โกอากาจะฮ์ (อินโดนีเซีย: Goa Gajah; "ถ้ำช้าง") หรือ ปุราโกอากาจะฮ์ (อินโดนีเซีย: Pura Goa Gajah) เป็นปุรา (โบสถ์พราหมณ์แบบบาหลี) และโบราณสถานใกล้เมืองอูบุด บนเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 เพื่อเป็นศาสนสถาน[1]

เทวาลัยแห่งนี้โดดเด่นจากรูปสลักหินที่มีใบหน้าถมึงทึง สันนิษฐานว่าสร้างเพื่อให้ขับไล่สิ่งชั่วร้าย ครั้งหนึ่งเชื่อกันว่ารูปสลักหินหลักนั้นเป็นรูปช้าง จึงเป็นที่มาของชื่อเล่นว่า ปุราถ้ำช้าง แต่บางกลุ่มเชื่อว่าเทวาลัยนี้ตั้งชื่อตามรูปสลักพระพิฆเนศ ซึ่งตั้งอยู่ภายใน[2] เทวาลัยแห่งนี้ได้รับการกล่าวถึงใน Nagarakretagama หรือ Desawarnana ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ของชวาที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1365 ภายในเทวาลัยมีสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายโรงอาบน้ำ ได้รับการขุดค้นในคริสต์ทศวรรษ 1950[3] เพื่อที่จะไปถึงทางเข้าถ้ำ จำเป็นต้องเดินลงบันไดหลายขั้น ไม่มีทางเข้าสำหรับบุคคลทุพพลภาพ[4] ภายในเทวาลัยมีขนาดเล็กและอบอวลไปด้วยควันขาวจากธูป[5] สถานที่แห่งนี้ไม่อนุญาตให้สตรีสวมกางเกงขาสั้นเข้าไป แต่ทางเทวาลัยมีผ้าโสร่งให้ยืม เทวาลัยนี้ยังมีรูปปั้นสตรี 7 รูป (หนึ่งในนั้นถูกแผ่นดินไหวทำลายไปแล้ว) กำลังถือหม้อน้ำเทน้ำลงตรงกลางบ่อ สื่อถึงแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ 7 สายในชมพูทวีปตามฤคเวท คือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำสรัสวดี แม่น้ำยมุนา แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำสินธุ แม่น้ำกาเวรี และแม่น้ำนรรมทา

ปัจจุบันเทวาลัยแห่งนี้ได้รับการขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (tentative list) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคต

อ้างอิง

  1. Davison, J. et al. (2003)
  2. "Elephant Cave in Bali - Goa Gajah - Bali Magazine". bali-indonesia.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-06-13.
  3. Pringle, R. (2004) p 61
  4. "Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children". Adventures With Children (ภาษาอังกฤษ). 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2018-06-13.
  5. "Bali Vacation Guide [With Kids] - Adventures With Children". Adventures With Children (ภาษาอังกฤษ). 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2018-06-13.