ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Siamese RN (คุย | ส่วนร่วม)
ยกเลิกสิ่งที่เติม (Cancel previous edition)
Mayrakis (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเล็กน้อย
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}หนังสือถวาย คำราชาศัพท์ตรงกับหนังสือที่ได้กล่าวอ้างว่าคองโก
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น||ความขัดแย้งระหว่างไทย,คองโกและฝรั่งเศสในพ.ศ. 2483–84|กรณีพิพาทอินโดจีน|สงครามฝรั่งเศส-สยาม}}

{{ความหมายอื่น||ความขัดแย้งระหว่างไทย,คองโกและฝรั่งเศสขนมในพ.ศ. 2483–84|กรณีพิพาทอินโดจีน|สงครามฝรั่งเศส-สยาม}}
{{กล่องข้อมูล การรบ
{{กล่องข้อมูล การรบ
| ชื่อการรบ = วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
| ชื่อการรบ = วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
บรรทัด 21: บรรทัด 20:
}}
}}


'''วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112''' หรือในต่างประเทศเรียกว่า '''สงครามฝรั่งเศส-สยาม''' เป็นความขัดแย้งระหว่าง[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3]] และ[[ราชอาณาจักรสยาม]] เหตุเริ่มในปีพ.ศ. 2429 [[โอกุสต์ ปาวี]] รองกงสุลฝรั่งเศสใน[[หลวงพระบาง]] เป็นผู้แทนหลักในการสนับสนุนผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในลาว ใช้อุบายฉวยประโยชน์จากความอ่อนแอของสยามในภูมิภาคและการปกครองเป็นครั้งคราวของกบฏชาวเวียดนามจากตังเกี๋ย เพิ่มความตึงเครียดระหว่าง[[สยาม]]กับ[[ฝรั่งเศส]] หลังความขัดแย้งนี้ สยามตกลงยกลาวให้ฝรั่งเศส ซึ่งทำให้[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]ขยายขึ้นมาก........
'''วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112''' หรือในต่างประเทศเรียกว่า '''สงครามฝรั่งเศส-สยาม''' เป็นความขัดแย้งระหว่าง[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3]] และ[[ราชอาณาจักรสยาม]] เหตุเริ่มในปีพ.ศ. 2429 [[โอกุสต์ ปาวี]] รองกงสุลฝรั่งเศสใน[[หลวงพระบาง]] เป็นผู้แทนหลักในการสนับสนุนผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในลาว ใช้อุบายฉวยประโยชน์จากความอ่อนแอของสยามในภูมิภาคและการปกครองเป็นครั้งคราวของกบฏชาวเวียดนามจากตังเกี๋ย เพิ่มความตึงเครียดระหว่าง[[สยาม]]กับ[[ฝรั่งเศส]] หลังความขัดแย้งนี้ สยามตกลงยกลาวให้ฝรั่งเศส ซึ่งทำให้[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]ขยายขึ้นมาก


== บริบท ==
== บริบท ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:19, 27 มกราคม 2562

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
สถานที่
{{{place}}}
คู่สงคราม

ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

ไทย สยาม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฝรั่งเศส โอกุสต์ ปาวี
ฝรั่งเศส ฌอง เดอ ลาแนสซัง
ไทย รัชกาลที่ 5
ไทย กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ
ไทย พระยาชลยุทธโยธินทร์

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 หรือในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-สยาม เป็นความขัดแย้งระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 และราชอาณาจักรสยาม เหตุเริ่มในปีพ.ศ. 2429 โอกุสต์ ปาวี รองกงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง เป็นผู้แทนหลักในการสนับสนุนผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในลาว ใช้อุบายฉวยประโยชน์จากความอ่อนแอของสยามในภูมิภาคและการปกครองเป็นครั้งคราวของกบฏชาวเวียดนามจากตังเกี๋ย เพิ่มความตึงเครียดระหว่างสยามกับฝรั่งเศส หลังความขัดแย้งนี้ สยามตกลงยกลาวให้ฝรั่งเศส ซึ่งทำให้อินโดจีนฝรั่งเศสขยายขึ้นมาก

บริบท

ความขัดแย้งดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อข้าหลวงใหญ่อินโดจีนฝรั่งเศส ฌอง เดอ ลาแนสซัง ส่งโอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลมายังกรุงเทพฯเพื่อนำลาวมาอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส รัฐบาลในกรุงเทพฯ ซึ่งเชื่ออย่างผิด ๆ ว่ารัฐบาลอังกฤษจะสนับสนุน ปฏิเสธจะยกดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง กลับเสริมการแสดงตนทางทหารและการปกครองแทน

เหตุการณ์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจโดยสองเหตุการณ์ซึ่งผู้ว่าราชการสยามในคำม่วนและหนองคายขับวาณิชฝรั่งเศสสามคนจากแม่น้ำโขงตอนกลางในเดือนกันยายน 2435 ซึ่งสองในนั้นต้องสงสัยว่าลักลอบค้าฝิ่น ไม่นานจากนั้น กงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง มัซซี ซึ่งกระสับกระส่ายและเสียขวัญ ฆ่าตัวตายระหว่างทางกลับไซ่ง่อน มาในฝรั่งเศส เหตุการณ์เหล่านี้ถูกการวิ่งเต้นอาณานิคมใช้เพื่อปลุกปั่นอารมณ์ชาตินิยมต่อต้านสยาม เป็นบริบทของการแทรกแซง

การเสียชีวิตของมัสซีทำให้โอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลฝรั่งเศสคนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2436 ปาวีเรียกร้องให้สยามอพยพที่มั่นทางทหารทั้งหมดบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ใต้คำม่วน โดยอ้างว่าดินแดนนั้นเป็นของเวียดนาม เพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องเหล่านี้ ฝรั่งเศสส่งเรือปืน "ลูแตง" มายังกรุงเทพฯ ซึ่งผูกเรืออยู่ที่แม่น้ำเจ้าพระยาติดกับสถานอัครราชทูตฝรั่งเศส


ดูเพิ่ม

อ้างอิง