ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
พ.ศ.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
พ.ศ.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งบริหาร โดยยึดตามระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสผสมกัน
ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งบริหาร โดยยึดตามระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสผสมกัน


ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธิบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี 2520 [[เลโอนิด เบรจเนฟ]], [[ยูรี อันโดรปอฟ]], [[คอนสตันติน เชียร์เนนโค]]และกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย
ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธิบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 [[เลโอนิด เบรจเนฟ]], [[ยูรี อันโดรปอฟ]], [[คอนสตันติน เชียร์เนนโค]]และกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย


เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสมัชชาใหญ่ผู้แทนประชาชน (Congress of People's Deputies)<ref>[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/zakony/185465/#300 Soviet Law from 14 March 1990 N 1360-I "On establishment of the Presidency of the Soviet Union and amendments and additions to the Constitution (Basic Law) of the Soviet Union". Article III]</ref> และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<ref name="Const">[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/red_1977/1549448/chapter/16/#1510 1977 Soviet Constitution with amendments of 1989—1990. Chapter 15.1: President of the Soviet Union]</ref>
เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสมัชชาใหญ่ผู้แทนประชาชน (Congress of People's Deputies)<ref>[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/zakony/185465/#300 Soviet Law from 14 March 1990 N 1360-I "On establishment of the Presidency of the Soviet Union and amendments and additions to the Constitution (Basic Law) of the Soviet Union". Article III]</ref> และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<ref name="Const">[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/red_1977/1549448/chapter/16/#1510 1977 Soviet Constitution with amendments of 1989—1990. Chapter 15.1: President of the Soviet Union]</ref>


รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต คือ เกนนาดี ยานาเยฟ ผู้ยึดอำนาจกอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีในความพยายามรัฐประหารปี 2534 เป็นคณะกรรมาธิการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (State Committee of the State of Emergency)
รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต คือ เกนนาดี ยานาเยฟ ผู้ยึดอำนาจกอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีในความพยายามรัฐประหารปี พ.ศ. 2534 เป็นคณะกรรมาธิการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (State Committee of the State of Emergency)


== รายนาม ==
== รายนาม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:34, 22 มกราคม 2562

ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
จวนพระราชวังเครมลิน, มอสโก
ผู้แต่งตั้งการเลือกตั้งโดยตรง
จากสมัชชาใหญ่ผู้แทนประชาชน
สถาปนา15 มีนาคม พ.ศ. 2533
คนแรกมีฮาอิล กอร์บาชอฟ
คนสุดท้ายมีฮาอิล กอร์บาชอฟ
ยกเลิก25 ธันวาคม พ.ศ. 2534
ตำแหน่งที่มาแทนประธานาธิบดีรัสเซีย

ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ([Президент Советского Союза, Prezident Sovetskogo Soyuza] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ประธานาธิบดีสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (รัสเซีย: Президент Союза Советских Социалистических Республик) เป็นประมุขแห่งรัฐของสหภาพโซเวียตตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2533 ถึง 25 ธันวาคม พ.ศ. 2534 มีฮาอิล กอร์บาชอฟเป็นบุคคลเดียวที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าว นอกจากนี้กอร์บาชอฟยังเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2528 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2534 เขาได้รับส่วนแบ่งอำนาจเพิ่มขึ้นจากตำแหน่งประธานาธิบดีกระทั่งเขาลาออกหลังความพยายามรัฐประหารในโซเวียตเมื่อปี พ.ศ. 2534

ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งบริหาร โดยยึดตามระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสผสมกัน

ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธิบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เลโอนิด เบรจเนฟ, ยูรี อันโดรปอฟ, คอนสตันติน เชียร์เนนโคและกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย

เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสมัชชาใหญ่ผู้แทนประชาชน (Congress of People's Deputies)[1] และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน[2]

รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต คือ เกนนาดี ยานาเยฟ ผู้ยึดอำนาจกอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีในความพยายามรัฐประหารปี พ.ศ. 2534 เป็นคณะกรรมาธิการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (State Committee of the State of Emergency)

รายนาม

ที่ ภาพ ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
ดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดตำแหน่ง
1
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
(2474–)
15 มีนาคม 2533 25 ธันวาคม 2534
เกนนาดี ยานาเยฟ (ผู้ยึดอำนาจ)
(2480–2553)
19 สิงหาคม 2534 21 สิงหาคม 2534

ดูเพิ่ม

อ้างอิง