ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้งก้ามกราม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8011194 สร้างโดย 27.55.64.105 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 34: บรรทัด 34:


กุ้งก้ามกรามมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปมากมาย เช่น "กุ้งแม่น้ำ", "กุ้งหลวง" ขณะที่กุ้งตัวเมียที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า เรียก "กุ้งนาง" เป็นต้น<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-1-search.asp นิยามคำว่า "ก้ามกราม" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref><ref>[http://www.thailandshrimp.com/data/agriculture_giant_p0.htm การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม]</ref>
กุ้งก้ามกรามมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปมากมาย เช่น "กุ้งแม่น้ำ", "กุ้งหลวง" ขณะที่กุ้งตัวเมียที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า เรียก "กุ้งนาง" เป็นต้น<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-1-search.asp นิยามคำว่า "ก้ามกราม" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref><ref>[http://www.thailandshrimp.com/data/agriculture_giant_p0.htm การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม]</ref>

กุ้งก้ามกราม ยังเป็น[[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|สัตว์ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]อีกด้วย


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 43: บรรทัด 41:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikispecies-inline|Macrobrachium rosenbergii}}

* สิทธิ กุหลาบทอง และสาวิกา กัลปพฤกษ์. 2554. บทความปริทัศน์: ชีววิทยาของกุ้งและปูน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยา
* สิทธิ กุหลาบทอง และสาวิกา กัลปพฤกษ์. 2554. บทความปริทัศน์: ชีววิทยาของกุ้งและปูน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยา
จังหวัดนนทบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 4(1): 942-951.
จังหวัดนนทบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 4(1): 942-951.


{{wikispecies-inline|Macrobrachium rosenbergii}}
[[หมวดหมู่:ปศุสัตว์]]
[[หมวดหมู่:ปศุสัตว์]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ Palaemonidae]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ Palaemonidae]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:09, 18 มกราคม 2562

กุ้งก้ามกราม
ไฟล์:FW Head On Shell On with Claw IMG.JPG
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Crustacea
อันดับ: Decapoda
วงศ์: Palaemonidae
สกุล: Macrobrachium
สปีชีส์: M.  rosenbergii
ชื่อทวินาม
Macrobrachium rosenbergii
(De Man, 1879)
ชื่อพ้อง
  • Cryphiops rosenbergii (De Man, 1879)
  • Macrobrachium rosenbergii dacqueti (Sunier, 1925)
  • Palaemon carcinus rosenbergii De Man, 1879
  • Palaemon dacqueti Sunier, 1925
  • Palaemon rosenbergii De Man, 1879
  • Palaemon spinipes Schenkel, 1902
  • Palaemon whitei Sharp, 1893

กุ้งก้ามกราม หรือ กุ้งก้ามคราม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Macrobrachium rosenbergii) กุ้งน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Palaemonidae พบได้ทั่วพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของอินโด-แปซิฟิกจากอินเดียไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทางตอนเหนือของออสเตรเลีย[2]

มีเปลือกสีเขียวอมสีฟ้าหรือม่วง ก้ามยาวมีสีครามหรือม่วงเข้ม ตลอดทั้งก้ามมีปุ่มตะปุ่มตะป่ำ โดยธรรมชาติจะอยู่ในแม่น้ำลำคลอง ในประเทศไทยพบแทบทุกจังหวัดในภาคกลางและภาคใต้ โดยพบทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย วางไข่ในน้ำกร่อยที่เค็มจัด อาหารได้แก่ ไส้เดือน, ตัวอ่อนของลูกน้ำ, ลูกไร, ลูกปลาขนาดเล็ก, ซากของสัตว์ต่าง ๆ และในบางโอกาสก็กินพวกเดียวกันเอง พบชุกชุมทำให้จับง่าย โดยเฉพาะในฤดูหนาว ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ทำให้ปริมาณในธรรมชาติลดน้อยลง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดต่าง ๆ แถบภาคกลางของไทย เช่น สุพรรณบุรี, นครปฐม, ฉะเชิงเทรา เป็นต้น

โดยที่กุ้งก้ามกรามชนิดที่พบในประเทศไทย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า M. dacqueti ส่วนชนิดที่ใช้ชื่อว่า M. rosenbergii เป็นชนิดที่พบในภูมิภาคปาปัวนิวกินี แต่ปัจจุบันถือว่าเป็นชนิดเดียวกันหรือเป็นชื่อพ้อง[3]

กุ้งก้ามกรามมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 ฟุต น้ำหนักราว 1 กิโลกรัม เป็นกุ้งที่ถูกใช้ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ, เผา หรือทอด เป็นต้น เพราะเนื้อมีมาก เนื้อแน่น มัน อร่อย ทำให้มีราคาที่ขายสูง ปัจจุบันยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามด้วย

กุ้งก้ามกรามมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปมากมาย เช่น "กุ้งแม่น้ำ", "กุ้งหลวง" ขณะที่กุ้งตัวเมียที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า เรียก "กุ้งนาง" เป็นต้น[4][5]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. S. De Grave, J. Shy, D. Wowor & T. Page (2013). "Macrobrachium rosenbergii". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.1. สืบค้นเมื่อ 13 July 2013.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. H. Motoh & K. Kuronuma (1980). Field guide for the edible crustacea of the Philippines. Southeast Asian Fisheries Development Center (SEAFDEC). p. 44.
  3. Macrobrachium rosenbergii
  4. นิยามคำว่า "ก้ามกราม" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  5. การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Macrobrachium rosenbergii ที่วิกิสปีชีส์

  • สิทธิ กุหลาบทอง และสาวิกา กัลปพฤกษ์. 2554. บทความปริทัศน์: ชีววิทยาของกุ้งและปูน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยา

จังหวัดนนทบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 4(1): 942-951.