ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอโมจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''เอโมจิ''' ({{lang-ja|{{ruby-ja|絵文字|えもじ}}}}) หรือ '''อิโมจี''' ({{lang-en|emoji}})<ref>{{cite web|url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/emoji|title=emoji Meaning in the Cambridge English Dictionary|publisher=|accessdate=March 30, 2017}}</ref> คือ[[ตัวหนังสือความคิด]]และ[[สไมลีย์]]ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และ[[เว็บเพจ]] เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น เอโมจิมีลักษณะเหมือน[[สัญรูปอารมณ์]]มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์<ref>{{cite news |url=https://www.theguardian.com/technology/2015/feb/06/difference-between-emoji-and-emoticons-explained |title=Don't know the difference between emoji and emoticons? Let me explain |first=Alex |last=Hern |date=February 6, 2015 |work=[[The Guardian]]}}</ref> เดิมคำ ''เอโมจิ'' มีความหมายว่า [[ตัวหนังสือภาพ]] โดยมาจากคำ ''เอะ'' ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น<ref>{{cite web |url=https://books.google.com/books?id=VPO4CgAAQBAJ|title=New Words for Old: Recycling Our Language for the Modern World |first=Caroline |last=Taggart |date=November 5, 2015 |publisher=Michael O'Mara Books |via=Google Books |quote=Hard on the heels of the emoticon comes the Japanese-born ''emoji'', also a <u>DIGITAL</u> icon used to express emotion, but more sophisticated in terms of imagery than those that are created by pressing a colon followed by a parenthesis. ''Emoji'' is made up of the Japanese for ''picture'' (''e'') and ''character'' (''moji''), so its resemblance to emotion and emoticon is a particularly happy coincidence. |access-date=October 25, 2017}}</ref>
'''เอโมจิ''' ({{lang-ja|{{ruby-ja|絵文字|えもじ}}}}) หรือ '''อิโมจี''' ({{lang-en|emoji}})<ref>{{cite web|url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/emoji|title=emoji Meaning in the Cambridge English Dictionary|publisher=|accessdate=March 30, 2017}}</ref> คือ[[ตัวหนังสือความคิด]]และ[[สไมลีย์]]ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และ[[เว็บเพจ]] เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น เอโมจิมีลักษณะเหมือน[[สัญรูปอารมณ์]]มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์<ref>{{cite news |url=https://www.theguardian.com/technology/2015/feb/06/difference-between-emoji-and-emoticons-explained |title=Don't know the difference between emoji and emoticons? Let me explain |first=Alex |last=Hern |date=February 6, 2015 |work=[[The Guardian]]}}</ref> เดิมคำ ''เอโมจิ'' มีความหมายว่า [[ตัวหนังสือภาพ]] โดยมาจากคำ ''เอะ'' ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น<ref>{{cite web |url=https://books.google.com/books?id=VPO4CgAAQBAJ|title=New Words for Old: Recycling Our Language for the Modern World |first=Caroline |last=Taggart |date=November 5, 2015 |publisher=Michael O'Mara Books |via=Google Books |quote=Hard on the heels of the emoticon comes the Japanese-born ''emoji'', also a <u>DIGITAL</u> icon used to express emotion, but more sophisticated in terms of imagery than those that are created by pressing a colon followed by a parenthesis. ''Emoji'' is made up of the Japanese for ''picture'' (''e'') and ''character'' (''moji''), so its resemblance to emotion and emoticon is a particularly happy coincidence. |access-date=October 25, 2017}}</ref>


เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกทากะ คุริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งโทรศัพท์ในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์มือถือนั้นง่ายขึ้น ซึ่งในครั้งนั้นเขาได้คิดค้น เอโมจิ รวมทั้งหมด 176 แบบด้วยกัน <ref>"[https://roonnhaidee.com/blog/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-emoji-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87/ วิธีสร้าง emoji ส่วนตัวไว้ใช้เอง บนมือถือและคอมพิวเตอร์" เว็บไซต์ รุ่นไหนดี Roonnhaidee] </ref>
เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ<ref>"[https://roonnhaidee.com/blog/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-emoji-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87/ วิธีสร้าง emoji ส่วนตัวไว้ใช้เอง บนมือถือและคอมพิวเตอร์" เว็บไซต์ รุ่นไหนดี Roonnhaidee] </ref>


ในคริสต์ทศวรรษ 2010 เอโมจิ ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปใน[[ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา|ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่]]หลายระบบ<ref name=":0">{{cite web |last=Blagdon |first=Jeff |title=How emoji conquered the world |url=https://www.theverge.com/2013/3/4/3966140/how-emoji-conquered-the-world |work=The Verge |publisher=Vox Media |accessdate=November 6, 2013 |date=March 4, 2013}}</ref><ref>{{cite web|title=Smile, You're Speaking EMOJI: The fast evolution of a wordless tongue|date=November 16, 2014|url=http://nymag.com/daily/intelligencer/2014/11/emojis-rapid-evolution.html|author=Adam Sternbergh|publisher=[[New York (magazine)|New York]]}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.android.com/versions/kit-kat-4-4/|title=Android – 4.4 KitKat|work=android.com}}</ref> ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของ[[วัฒนธรรมประชานิยม]]ในโลกตะวันตก<ref>{{cite news |url=https://www.nbcnews.com/video/how-emojis-took-center-stage-in-american-pop-culture-1001844803597 |title=How Emojis took center stage in American pop culture |date=July 17, 2017 |work=NBC News}}</ref> ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี<ref>{{cite web| url=https://www.pbs.org/newshour/rundown/oxford-dictionary-says-the-2015-word-of-the-year-is-an-emoji/| title=Oxford Dictionaries 2015 Word of the Year is an Emoji| date=November 17, 2015| publisher=PBS Newshour| access-date=August 23, 2017}}</ref>
ในคริสต์ทศวรรษ 2010 เอโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปใน[[ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา|ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่]]หลายระบบ<ref name=":0">{{cite web |last=Blagdon |first=Jeff |title=How emoji conquered the world |url=https://www.theverge.com/2013/3/4/3966140/how-emoji-conquered-the-world |work=The Verge |publisher=Vox Media |accessdate=November 6, 2013 |date=March 4, 2013}}</ref><ref>{{cite web|title=Smile, You're Speaking EMOJI: The fast evolution of a wordless tongue|date=November 16, 2014|url=http://nymag.com/daily/intelligencer/2014/11/emojis-rapid-evolution.html|author=Adam Sternbergh|publisher=[[New York (magazine)|New York]]}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.android.com/versions/kit-kat-4-4/|title=Android – 4.4 KitKat|work=android.com}}</ref> ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของ[[วัฒนธรรมประชานิยม]]ในโลกตะวันตก<ref>{{cite news |url=https://www.nbcnews.com/video/how-emojis-took-center-stage-in-american-pop-culture-1001844803597 |title=How Emojis took center stage in American pop culture |date=July 17, 2017 |work=NBC News}}</ref> ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี<ref>{{cite web| url=https://www.pbs.org/newshour/rundown/oxford-dictionary-says-the-2015-word-of-the-year-is-an-emoji/| title=Oxford Dictionaries 2015 Word of the Year is an Emoji| date=November 17, 2015| publisher=PBS Newshour| access-date=August 23, 2017}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:36, 16 มกราคม 2562

เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการโนโต

เอโมจิ (ญี่ปุ่น: 絵文字えもじ) หรือ อิโมจี (อังกฤษ: emoji)[1] คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น เอโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์[2] เดิมคำ เอโมจิ มีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ เอะ (, "ภาพ") ประสมกับคำ โมจิ (文字, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ [emoji] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) กับคำ [emotion] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) และ [emoticon] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น[3]

เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ[4]

ในคริสต์ทศวรรษ 2010 เอโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ[5][6][7] ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก[8] ในปี พ.ศ. 2558 ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์ ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี[9]

อ้างอิง

  1. "emoji Meaning in the Cambridge English Dictionary". สืบค้นเมื่อ March 30, 2017.
  2. Hern, Alex (February 6, 2015). "Don't know the difference between emoji and emoticons? Let me explain". The Guardian.
  3. Taggart, Caroline (November 5, 2015). "New Words for Old: Recycling Our Language for the Modern World". Michael O'Mara Books. สืบค้นเมื่อ October 25, 2017 – โดยทาง Google Books. Hard on the heels of the emoticon comes the Japanese-born emoji, also a DIGITAL icon used to express emotion, but more sophisticated in terms of imagery than those that are created by pressing a colon followed by a parenthesis. Emoji is made up of the Japanese for picture (e) and character (moji), so its resemblance to emotion and emoticon is a particularly happy coincidence.
  4. "วิธีสร้าง emoji ส่วนตัวไว้ใช้เอง บนมือถือและคอมพิวเตอร์" เว็บไซต์ รุ่นไหนดี Roonnhaidee
  5. Blagdon, Jeff (March 4, 2013). "How emoji conquered the world". The Verge. Vox Media. สืบค้นเมื่อ November 6, 2013.
  6. Adam Sternbergh (November 16, 2014). "Smile, You're Speaking EMOJI: The fast evolution of a wordless tongue". New York.
  7. "Android – 4.4 KitKat". android.com.
  8. "How Emojis took center stage in American pop culture". NBC News. July 17, 2017.
  9. "Oxford Dictionaries 2015 Word of the Year is an Emoji". PBS Newshour. November 17, 2015. สืบค้นเมื่อ August 23, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น