ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพฤหัสบดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
พระพฤหัสบดีเป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลดังเช่นนิสัยแห่งพระฤษี นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันพฤหัสบดี หรือมีพระพฤหัสบดีสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักทำอะไรด้วยความระมัดระวัง สุขุมรอบคอบ เมตตาปรานีต่อผู้อื่น ใน[[มหาภารตะ]] พระพฤหัสบดีเป็นบุตรของ[[พระอินทร์]] เป็น[[มิตรภาพ|มิตร]]กับ[[พระอาทิตย์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระจันทร์]] เนื่องจากถูกพระจันทร์แยงชิงชายา คือ นางตาราไปครองเป็นชายาของตัวเอง แต่ท้ายสุดพระพฤหัสบดีก็ได้นางตารากลับไป
พระพฤหัสบดีเป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลดังเช่นนิสัยแห่งพระฤษี นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันพฤหัสบดี หรือมีพระพฤหัสบดีสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักทำอะไรด้วยความระมัดระวัง สุขุมรอบคอบ เมตตาปรานีต่อผู้อื่น ใน[[มหาภารตะ]] พระพฤหัสบดีเป็นบุตรของ[[พระอินทร์]] เป็น[[มิตรภาพ|มิตร]]กับ[[พระอาทิตย์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระจันทร์]] เนื่องจากถูกพระจันทร์แยงชิงชายา คือ นางตาราไปครองเป็นชายาของตัวเอง แต่ท้ายสุดพระพฤหัสบดีก็ได้นางตารากลับไป


ในโหราศาสตร์ไทย พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วย[[สัญลักษณ์]] ๕ (เลขห้าไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจาก[[ฤๅษี|ฤาษี]] ๑๙ ตน จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๙ สำหรับพระประจำ[[วันเกิด]]ของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ [[ปางสมาธิ]]
ในโหราศาสตร์ไทย พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วย[[สัญลักษณ์]] ๕ (เลขห้าไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจาก[[ฤๅษี|ฤๅษี]] ๑๙ ตน จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๙ สำหรับพระประจำ[[วันเกิด]]ของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ [[ปางสมาธิ]]


เมื่อเทียบกับ[[ความเชื่อ]]ของชาวกรีกและโรมันแล้ว พระพฤหัสบดี คือ [[ซุส]] หรือ [[จูปิเตอร์]]
เมื่อเทียบกับ[[ความเชื่อ]]ของชาวกรีกและโรมันแล้ว พระพฤหัสบดี คือ [[ซุส]] หรือ [[จูปิเตอร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:57, 3 มกราคม 2562

พระพฤหัสบดี
เทวนาครี: बृहस्पति
พระพฤหัสบดีอย่างอินเดีย
จำพวกเทวนพเคราะห์ และคุรู
สัตว์พาหนะช้าง, กวาง หรือ รถม้าลากโดยม้า 8 ตัว
ดาวพระเคราะห์ดาวพฤหัสบดี

พระพฤหัสบดี (เทวนาครี: बृहस्पति พฤหสฺปดี) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง ในคติไทย พระพฤหัสบดีถูกสร้างขึ้นมาจากฤษี ๑๙ ตน บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีเหลืองส้ม แล้วเสกได้เป็นพระพฤหัสบดี มีสีวรกายส้มแดง ทรงมฤค (กวาง) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตก และแสดงถึงอักษรวรรค ปะ (บ ผ พ ภ ม) พระพฤหัสบดีจัดว่าเป็นครูของเทวดาทั้งหลาย (เทวาคุรุ) จึงนิยมทำพิธีไหว้ครูในวันพฤหัสบดี

พระพฤหัสบดีเป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลดังเช่นนิสัยแห่งพระฤษี นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันพฤหัสบดี หรือมีพระพฤหัสบดีสถิตร่วมกับลัคนา มักทำอะไรด้วยความระมัดระวัง สุขุมรอบคอบ เมตตาปรานีต่อผู้อื่น ในมหาภารตะ พระพฤหัสบดีเป็นบุตรของพระอินทร์ เป็นมิตรกับพระอาทิตย์ และเป็นศัตรูกับพระจันทร์ เนื่องจากถูกพระจันทร์แยงชิงชายา คือ นางตาราไปครองเป็นชายาของตัวเอง แต่ท้ายสุดพระพฤหัสบดีก็ได้นางตารากลับไป

ในโหราศาสตร์ไทย พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๕ (เลขห้าไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากฤๅษี ๑๙ ตน จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๙ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ ปางสมาธิ

เมื่อเทียบกับความเชื่อของชาวกรีกและโรมันแล้ว พระพฤหัสบดี คือ ซุส หรือ จูปิเตอร์

อ้างอิง

  • อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
  • เทพย์ สาริกบุตร และคณะ.พรหมชาติ ฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
  • กิเลน ประลองเชิง, ตำนานจันทร์เจ้า. "ชักธงรบ". หน้า 3 ไทยรัฐปีที่ 67 ฉบับที่ 21346: วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 แรม 12 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก