ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟรคอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: File:FreikorpsBerlinStahlhelmM18TuerkischeForm.jpg|thumb|300px|กองกำลังกึ่งทหาร''ไฟร์คอรพ์'' ใน[[สาธาร...
 
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ไฟร์คอร์พ์'''({{IPA-de|ˈfʁaɪˌkoːɐ̯|lang}}, "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์("กรมทหารเสรี", {{lang-de|Freie Regimenter}}) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า(หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์(jäger), ดรากูนส(dragoons) และฮุสซาร์ส(hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan(ทหารม้าเบา)และดรากูนส
'''ไฟร์คอร์พ์'''({{IPA-de|ˈfʁaɪˌkoːɐ̯|lang}}, "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์("กรมทหารเสรี", {{lang-de|Freie Regimenter}}) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า(หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์(jäger), ดรากูนส(dragoons) และฮุสซาร์ส(hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan(ทหารม้าเบา)และดรากูนส


ในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และในช่วง[[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919]] ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจาก[[โซเวียต]]ที่ได้พยายามจะโค่นล้ม[[สาธารณรัฐไวมาร์]] อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่
ในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และในช่วง[[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919]] ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล<ref>{{cite book|last1=Haffner|first1=Sebastian|title=Defying Hitler|date=2000|publisher=Picador|isbn=0-312-42113-3|pages=30-31, 33}}</ref> ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจาก[[โซเวียต]]ที่ได้พยายามจะโค่นล้ม[[สาธารณรัฐไวมาร์]]<ref> William L. Shirer, ''The Rise and Fall of the Third Reich: A History of Nazi Germany'', New York, NY, Simon & Schuster, 2011, p. 55</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=21-22}}</ref> อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน<ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=23-24}}</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=88-89}}</ref> รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่


<br />
<br />
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
[[หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:21, 24 ธันวาคม 2561

กองกำลังกึ่งทหารไฟร์คอรพ์ ในสาธารณรัฐไวมาร์ ในปี ค.ศ. 1919

ไฟร์คอร์พ์(ภาษาเยอรมัน: [ˈfʁaɪˌkoːɐ̯], "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์("กรมทหารเสรี", เยอรมัน: Freie Regimenter) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า(หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์(jäger), ดรากูนส(dragoons) และฮุสซาร์ส(hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan(ทหารม้าเบา)และดรากูนส

ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและในช่วงการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล[1] ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจากโซเวียตที่ได้พยายามจะโค่นล้มสาธารณรัฐไวมาร์[2][3] อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน[4][5] รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่


อ้างอิง

  1. Haffner, Sebastian (2000). Defying Hitler. Picador. pp. 30–31, 33. ISBN 0-312-42113-3.
  2. William L. Shirer, The Rise and Fall of the Third Reich: A History of Nazi Germany, New York, NY, Simon & Schuster, 2011, p. 55
  3. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 21–22.
  4. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 23–24.
  5. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 88–89.