ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคิเลกิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไมตรี ก้อนมะณี (คุย | ส่วนร่วม)
→‎คำคุณศัพท์: ภาษาไทย
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
มาก่อนคำที่ถูกขยายและมักลงท้ายด้วยการกแสดงความเป็นเจ้าของ
มาก่อนคำที่ถูกขยายและมักลงท้ายด้วยการกแสดงความเป็นเจ้าของ


{ไทย}}
{{อินโด-อิหร่าน}}
{{วิกิภาษาอื่น|glk}}
{{วิกิภาษาอื่น|ไทย}}


[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน|คิเลกิ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:33, 12 ธันวาคม 2561

ภาษาคิเลกิ
گیلکی Giləki
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน
ภูมิภาคทางตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลสาบคัสเปียน (จังหวัดคิลัน )
จำนวนผู้พูด2-4 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
รหัสภาษา
ISO 639-2ira
ISO 639-3glk

ภาษาคิเลกิ (گیلکی ในภาษาเปอร์เซีย Gileki ในภาษาอังกฤษ) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดในจังหวัดกิลันและจังหวัดมาซันดารันในอิหร่าน แบ่งเป็น 4 สำเนียงคือ สำเนียงตะวันตก ตะวันออก ตาบารี และกาเลชิ ใกล้เคียงกับภาษามาซันดารานี สำเนียงตะวันตกและตะวันออกของภาษานี้แบ่งแยกโดยแม่น้ำเวฟิด รุด มีผู้พูดมากกว่า 3 ล้านคนเมื่อ พ.ศ. 2536

โครงสร้างของภาษาคิเลกิใกล้เคียงกับภาษาซาซากีที่ใช้พูดในตุรกี มีความแตกต่างด้านไวยากรณ์ในการแสดงความเป็นเจ้าของและคำคุณศัพท์เมื่อเทียบกับภาษาเปอร์เซียคำคุณศัพท์และคำขยายนำหน้านามเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียมาก ผู้พูดภาษานี้มักพูดภาษาเปอร์เซียเป็นภาษาที่สอง

ไวยากรณ์

ระบบกริยา

ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย รูปนามกริยาทั้งหมดลงท้ายด้วย -tən/-dən หรือ -V:n, เมื่อ V: สระเสียงยาว รูปปัจจุบันมักสัมพันธ์กับรูปนามกริยา ส่วนรูปอดีตจะเป็นรูปนามกริยาที่ตัด -ən หรือ -n

กริยาประกอบ

มีกริยาประกอบเป็นจำนวนมากในภาษาคิเลกิ ซึ่งมีรูปแบบต่างจากกริยาโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ ไม่ใช้คำอุปสรรค bV- และคำอุปสรรคปฏิเสธ nV- สามารถทำหน้าที่คล้ายอาคม -n-, โดยมาระหว่างอปสรรคและรากศัพท์ ดังนั้น จาก fagiftən, "ได้รับ", จะได้ รูปชี้เฉพาะปัจจุบัน fagirəm, แต่ เงื่อนไขปัจจุบันเป็น fágirəm, และรูปปฏิเสธของทั้งคู่เป็น fángirəm หรือ fanígirəm. รูปอดีตเป็น fángiftəm หรือ fanígiftəm.

นาม

ภาษาคิเลกิใช้ระบบของการกร่วมกับคำบุพบท มีสามการกคือ การกประธาน การกความเป็นเจ้าของ และการกกรรม

คำคุณศัพท์

มาก่อนคำที่ถูกขยายและมักลงท้ายด้วยการกแสดงความเป็นเจ้าของ

{ไทย}}