ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nakorn407 (คุย | ส่วนร่วม)
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขขนาดของโรงเรียนเนื่องจากมีนักเรียนไม่ถึง 2500 จึงไม่ใช่โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิกา ,เพิ่มเอกสารอ้างอิง ,ปรับปรุงบทความเพิ่มเติม และลบเนื้อหาที่ไม่สามารถหาแหล่งอ้างอิงได้ เนื่องจากอาจเข้าข่ายการโฆษณาสถานศึกษา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Issues|ปรับภาษา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
{{ข้อมูลโรงเรียน
{{ข้อมูลโรงเรียน
|ชื่อ=โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
|ชื่อ=โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
บรรทัด 8: บรรทัด 7:
|ประเทศ={{flagicon|Thailand}}
|ประเทศ={{flagicon|Thailand}}
|คำขวัญ=ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต <br/> ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
|คำขวัญ=ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต <br/> ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
|ก่อตั้ง={{วันเกิดและอายุ|2521|3|16}} ([[โรงเรียนสหศึกษา]])
|ก่อตั้ง={{วันเกิด-อายุ|2521|3|16}}
|ผู้ก่อตั้ง="[[คุณหญิงสวาท รัตนวราห]]" - นามโรงเรียน กาวิละ "[[พระเจ้ากาวิละ]]" (ฉันทานุมัติชื่อตั้งโรงเรียนจาก[[เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่]] เจ้านายฝ่ายเหนือ)
|ผู้ก่อตั้ง=[[คุณหญิงสวาท รัตนวราห]]
|ประเภท=- [[โรงเรียนรัฐบาล]]
|ประเภท=รัฐ - [[รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐประจำจังหวัดในประเทศไทย|โรงเรียนประจำจังหวัดของรัฐ]]<br> - [[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
-[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง]]
| class_range = [[มัธยมศึกษาปีที่ 1- มัธยมศึกษาปีที่ 6]]
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ]]
| students = 1,163 คน {{เทาเล็ก| (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)}} <ref>http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 จำนวนนักเรียนโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย </ref>
|head_name=ผู้อำนวยการ
|head_name=ผู้อำนวยการ
|head=นายอุทัย ขัติวงษ์
|head=นายอุทัย ขัติวงษ์
บรรทัด 17: บรรทัด 20:
|free_labe=ดอกไม้
|free_labe=ดอกไม้
|free_text=[[พวงแสด]]
|free_text=[[พวงแสด]]
|รหัสสถานศึกษา=1050130987
|โทรศัพท ์=053-247724
|โทรสาร=053-246166
|รหัสสถานศึกษา=50012002
|website=http://www.kwc.ac.th/
|website=http://www.kwc.ac.th/
}}
}}


<ref>http://www.kwc.ac.th/</ref>'''โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย''' ({{lang-en|kawilawittayalai school}})ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๒๑ เป็นโรงเรียน[[มัธยมศึกษา]]ประจำจังหวัดแห่งที่  3 ของจังหวัดเชียงใหม่ สังกัด[[เขตพื้นที่การศึกษา|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา]] เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) โรงเรียนในฝัน46ICT Leadership Centre and Network Schools
'''โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย''' ({{lang-en|kawilawittayalai school}}) เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง]] และเป็นโรงเรียน[[มัธยมศึกษา]]ประจำจังหวัดแห่งที่  3 ของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ตั้งอยูที่เลขที่ 451 ถนนมหิดล ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัด[[เขตพื้นที่การศึกษา|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา]] เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)<ref>https://iscps2013.files.wordpress.com/2016/07/e0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b88ae0b8b7e0b988e0b8ad-e0b8a3e0b8a3-e0b8a1e0b8b1e0b898e0b8a2e0b8a1.pdf รายชื่อโรงเรียนมาตราฐานสากล โรงเรียนกาวิละวิทยาลัยอยู่ลำดับที่ 418</ref>


== ประวัติ ==
[[ไฟล์:อาคารเรียน.jpg|thumb|อาคารเรียน3]]
[[ไฟล์:ป้ายกาวิละ.jpg|thumb|ป้ายโรงเรียน]]
'''โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย''' ตั้งขึ้นตามประกาศ[[กระทรวงศึกษาธิการ]]  ลงวันที่ 16 มีนาคม 2521 เป็นโรงเรียน[[มัธยมศึกษา]]ประจำจังหวัดแห่งที่  ๓ ของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ที่ดินดังกล่าวเดิมเป็นที่ดินของทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ นางสวาท  รัตนวราห (ต่อมาเป็นคุณหญิง)  ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ]] ได้รับมอบหมายจากกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นตัวแทนเจรจาขอที่ดินดังกล่าวจาก [[พลตรีจวน  วรรณรัตน์]] ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเชียงใหม่ยกที่ดินดังกล่าวให้กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในปี 2518 เพื่อยืมใช้เป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 กรมสามัญศึกษาได้กำหนดผังโรงเรียนเสนอกรมธนารักษ์ในปี 2519


สำหรับชื่อโรงเรียนนั้นเดิมกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษาจะให้เรียกว่า "โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ ๒" แต่นางสวาท  รัตนวราห ผู้ดำเนินการติดต่อประสานงาน จนกระทั่งก่อตั้งโรงเรียนเป็นผลสำเร็จ มีความประสงค์จะให้ ครู - อาจารย์ และผู้บริหารชุดแรก มีความภาคภูมิใจในการสร้างโรงเรียนใหม่แห่งนี้ จึงเสนอขอให้ตั้งชื่อว่า "โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย" ตามพระนามของ[[พระเจ้ากาวิละ]] การที่ผู้เสนอชื่อโรงเรียนเลือกเอาพระนามของ[[พระเจ้ากาวิละ]] ผู้ครองนคร[[เชียงใหม่]] และเป็นต้น[[ตระกูล ณ เชียงใหม่]] มาเป็นชื่อโรงเรียนเพราะมีความเห็นว่าโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงใหม่ จึงควรได้รับชื่อจากบุคคลสำคัญที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้เพื่อจะได้รับทุนบำรุงจากชาวเชียงใหม่อย่างเต็มภาคภูมิใจ ประกอบกับผู้ที่ยกที่ดินให้คือทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ใน[[ค่ายกาวิละ]] และได้รับฉันทานุมัติจาก[[เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่]] หัวหน้า[[เจ้านายฝ่ายเหนือ]]ด้วย
== <ref>http://www.kwc.ac.th/data_13383</ref>ประวัติ ==
'''โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย'''ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๒๑ เป็นโรงเรียน[[มัธยมศึกษา]]ประจำจังหวัดแห่งที่  ๓ ของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ดินดังกล่าวเดิมเป็นที่ดินของทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ นางสวาท  รัตนวราห (ต่อมาเป็นคุณหญิง)  ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ]] ได้รับมอบหมายจากกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นตัวแทนเจรจาขอที่ดินดังกล่าวจาก พลตรีจวน  วรรณรัตน์ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเชียงใหม่ยกที่ดินดังกล่าวให้กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในปี ๒๕๑๘ เพื่อยืมใช้เป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ กรมสามัญศึกษาได้กำหนดผังโรงเรียนเสนอกรมธนารักษ์ในปี ๒๕๑๙


โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย เปิดทำการสอนครั้งแรกในวันที่ 22 พฤษภาคม 2521 โดยยังไม่ได้งบประมาณใด ๆ ทั้งสิ้น จึงต้องขออาศัยสถานที่เรียนสองแห่ง คือ ชั้น ม.ศ. ๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่โรงเรียนคำเที่ยงอนุสรณ์ ชั้น ม.๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่[[โรงเรียนวัดท่าสะต๋อย]]
สำหรับชื่อโรงเรียนนั้นเดิมกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษาจะให้เรียกว่า "โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ ๒" แต่นางสวาท  รัตนวราห ผู้ดำเนินการติดต่อประสานงาน จนกระทั่งก่อตั้งโรงเรียนเป็นผลสำเร็จ มีความประสงค์จะให้ ครู - อาจารย์ และผู้บริหารชุดแรก มีความภาคภูมิใจในการสร้างโรงเรียนใหม่แห่งนี้ จึงเสนอขอให้ตั้งชื่อว่า "โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย" ตาม พระนามของพระเจ้ากาวิละ ซึ่งมีพระนามเต็มว่า "<ref>[[พระเจ้ากาวิละ]]</ref>[[พระเจ้ากาวิละ|พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์อัครอินทรสุรศักดิ์ สมญามหาขัตติราชชาติราชาไชยสวรรย์ เจ้าขัณฑสีมา พระนครเชียงใหม่ราชธานี]]" พระเจ้ากาวิละเป็นต้นตระกูล ณ เชียงใหม่ ในวันพฤหัสบดีที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๗ (วันอาทิตย์) ได้ขับไล่พม่าออกจากการยึดครองนครเชียงใหม่ เป็นผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๑ มีหัวเมืองขึ้น ๕๗ หัวเมือง 


ต่อมาได้รับงบประมาณถมที่ดินเพื่อสร้างถนน อาคารเรียนชั่วคราว 10 ห้องเรียน บ้านพักครู 2 หลัง บ้านพักภารโรง 1 หลัง และห้องส้วม 2 หลัง 16 ห้อง เมื่อสร้างเสร็จจึงย้ายนักเรียนทั้งหมดออกมา ณ ที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบัน<ref>http://www.kwc.ac.th/data_13383 ประวัติโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย </ref>
การที่ผู้เสนอชื่อโรงเรียนเลือกเอาพระนามของพระเจ้ากาวิละผู้ครองนครเชียงใหม่ เพราะมีความเห็นว่าโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงใหม่ จึงควรได้รับชื่อจากบุคคลสำคัญที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้เพื่อจะได้รับทุนบำรุงจากชาวเชียงใหม่อย่างเต็มภาคภูมิใจ ประกอบกับผู้ที่ยกที่ดินให้คือทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ในค่ายกาวิละ และได้รับฉันทานุมัติจากเจ้าพงศ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ หัวหน้าเจ้านายฝ่ายเหนือด้วย


== การศึกษา ==
โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย เปิดทำการสอนครั้งแรกในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๒๑ โดยยังไม่ได้งบประมาณใด ๆ ทั้งสิ้น จึงต้องขออาศัยสถานที่เรียนสองแห่ง คือ ชั้น ม.ศ. ๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่โรงเรียนคำเที่ยงอนุสรณ์ ชั้น ม.๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่โรงเรียนวัดท่าสะต๋อย
=== การเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-3 ===
มีทั้งสิ้น 18 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
** 6 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
** 6 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
** 6 ห้องเรียน


=== การเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.4-6 ===
ต่อมาได้รับงบประมาณถมที่ดินเพื่อสร้างถนน อาคารเรียนชั่วคราว ๑๐ ห้องเรียน บ้านพักครู หลัง บ้านพักภารโรง หลัง และห้องส้วม หลัง ๑๖ ห้อง เมื่อสร้างเสร็จจึงย้ายนักเรียนทั้งหมดออกมา ณ ที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบัน
มีทั้งสิ้น 21 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
** 7 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
** 7 ห้องเรียน
* ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
** 7 ห้องเรียน<ref>http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 จำนวนห้องเรียนของโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย</ref>


== ที่ตั้งและพื้นที่โรงเรียน ==
== ที่ตั้งและพื้นที่โรงเรียน ==
[[ไฟล์:อาคารเรียน.jpg|thumb|อาคารเรียน3]]
โรงเรียน[[มัธยมศึกษา]]ประจำจังหวัดแห่งที่  ๓ ของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ ณ บ้านต้นขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลท่าศาลา และตำบลหนองหอย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีโฉนด ๓ ฉบับ รวมเนื้อที่ตามทะเบียน ๖๗ ไร่ ๒ งาน  ๖๗ ตารางวา ที่ดินดังกล่าวเดิมเป็นที่ดินของทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ นางสวาท  รัตนวราห (ต่อมาเป็นคุณหญิง)  ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ]] ได้รับมอบหมายจากกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นตัวแทนเจรจาขอที่ดินดังกล่าวจาก พลตรีจวน  วรรณรัตน์ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเชียงใหม่ยกที่ดินดังกล่าวให้กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในปี ๒๕๑๘ เพื่อยืมใช้เป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ ๓ กรมสามัญศึกษาได้กำหนดผังโรงเรียนเสนอกรมธนารักษ์ในปี ๒๕๑๙
โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ มีโฉนด ๓ ฉบับ รวมเนื้อที่ตามทะเบียน ๖๗ ไร่ ๒ งาน  ๖๗ ตารางวา

*อาคารเรียน 3 หลัง
[[ไฟล์:ป้ายกาวิละ.jpg|thumb|ป้ายโรงเรียน]]
*อาคารหอประชุม -โรงอาหาร 1 หลัง
*อาคารโรงฝึกงาน 1 หลัง
*อาคารหอประชุม 1 หลัง
*บ้านพักครู 4 หลัง
*บ้่านพักภารโรง 1 หลัง
*ห้องส้วม 7 หลัง<ref>http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_bobec.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 ข้อมูลอาคารสถานที่โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย </ref>


== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
บรรทัด 110: บรรทัด 133:
[http://www.46ict.org/46ict/home/showMember.php 46ICT Leadership Centre and Network Schools]{{รายชื่อโรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์}}
[http://www.46ict.org/46ict/home/showMember.php 46ICT Leadership Centre and Network Schools]{{รายชื่อโรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของเจ้านายฝ่ายเหนือ]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของเจ้านายฝ่ายเหนือ]]
{{โครงสถานศึกษา}}
{{โครงสถานศึกษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:18, 4 ธันวาคม 2561

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
Kawila Witayalai School
ไฟล์:ตราประจำโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย.jpg
ที่ตั้ง
ข้อมูล
ชื่ออื่นก.ว. / K.W.C
ประเภท- โรงเรียนรัฐบาล -โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
คำขวัญปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต
ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
สถาปนา16 มีนาคม พ.ศ. 2521 (46 ปี)
ผู้ก่อตั้งคุณหญิงสวาท รัตนวราห
หน่วยงานกำกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รหัส1050130987
ผู้อำนวยการนายอุทัย ขัติวงษ์
ระดับปีที่จัดการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 1- มัธยมศึกษาปีที่ 6
จำนวนนักเรียน1,163 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561) [1]
สี███ แสด
เพลงมาร์ชกาวิละ
เว็บไซต์http://www.kwc.ac.th/

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย (อังกฤษ: kawilawittayalai school) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่  3 ของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยูที่เลขที่ 451 ถนนมหิดล ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)[2]

ประวัติ

ไฟล์:ป้ายกาวิละ.jpg
ป้ายโรงเรียน

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  ลงวันที่ 16 มีนาคม 2521 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่  ๓ ของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ดินดังกล่าวเดิมเป็นที่ดินของทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ นางสวาท  รัตนวราห (ต่อมาเป็นคุณหญิง)  ผู้อำนวยการโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ ได้รับมอบหมายจากกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นตัวแทนเจรจาขอที่ดินดังกล่าวจาก พลตรีจวน  วรรณรัตน์ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเชียงใหม่ยกที่ดินดังกล่าวให้กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในปี 2518 เพื่อยืมใช้เป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 กรมสามัญศึกษาได้กำหนดผังโรงเรียนเสนอกรมธนารักษ์ในปี 2519

สำหรับชื่อโรงเรียนนั้นเดิมกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษาจะให้เรียกว่า "โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ ๒" แต่นางสวาท  รัตนวราห ผู้ดำเนินการติดต่อประสานงาน จนกระทั่งก่อตั้งโรงเรียนเป็นผลสำเร็จ มีความประสงค์จะให้ ครู - อาจารย์ และผู้บริหารชุดแรก มีความภาคภูมิใจในการสร้างโรงเรียนใหม่แห่งนี้ จึงเสนอขอให้ตั้งชื่อว่า "โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย" ตามพระนามของพระเจ้ากาวิละ การที่ผู้เสนอชื่อโรงเรียนเลือกเอาพระนามของพระเจ้ากาวิละ ผู้ครองนครเชียงใหม่ และเป็นต้นตระกูล ณ เชียงใหม่ มาเป็นชื่อโรงเรียนเพราะมีความเห็นว่าโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงใหม่ จึงควรได้รับชื่อจากบุคคลสำคัญที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้เพื่อจะได้รับทุนบำรุงจากชาวเชียงใหม่อย่างเต็มภาคภูมิใจ ประกอบกับผู้ที่ยกที่ดินให้คือทหารบกจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ในค่ายกาวิละ และได้รับฉันทานุมัติจากเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ หัวหน้าเจ้านายฝ่ายเหนือด้วย

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย เปิดทำการสอนครั้งแรกในวันที่ 22 พฤษภาคม 2521 โดยยังไม่ได้งบประมาณใด ๆ ทั้งสิ้น จึงต้องขออาศัยสถานที่เรียนสองแห่ง คือ ชั้น ม.ศ. ๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่โรงเรียนคำเที่ยงอนุสรณ์ ชั้น ม.๑ จำนวน ๔ ห้องเรียนที่โรงเรียนวัดท่าสะต๋อย

ต่อมาได้รับงบประมาณถมที่ดินเพื่อสร้างถนน อาคารเรียนชั่วคราว 10 ห้องเรียน บ้านพักครู 2 หลัง บ้านพักภารโรง 1 หลัง และห้องส้วม 2 หลัง 16 ห้อง เมื่อสร้างเสร็จจึงย้ายนักเรียนทั้งหมดออกมา ณ ที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบัน[3]

การศึกษา

การเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-3

มีทั้งสิ้น 18 ห้องเรียน

  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
    • 6 ห้องเรียน
  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
    • 6 ห้องเรียน
  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
    • 6 ห้องเรียน

การเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.4-6

มีทั้งสิ้น 21 ห้องเรียน

  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
    • 7 ห้องเรียน
  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
    • 7 ห้องเรียน
  • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
    • 7 ห้องเรียน[4]

ที่ตั้งและพื้นที่โรงเรียน

ไฟล์:อาคารเรียน.jpg
อาคารเรียน3

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ มีโฉนด ๓ ฉบับ รวมเนื้อที่ตามทะเบียน ๖๗ ไร่ ๒ งาน  ๖๗ ตารางวา

  • อาคารเรียน 3 หลัง
  • อาคารหอประชุม -โรงอาหาร 1 หลัง
  • อาคารโรงฝึกงาน 1 หลัง
  • อาคารหอประชุม 1 หลัง
  • บ้านพักครู 4 หลัง
  • บ้่านพักภารโรง 1 หลัง
  • ห้องส้วม 7 หลัง[5]

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน

ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน

พระบรมราชาธิบดี หรือ พระเจ้ากาวิละ ประทับในเรือนแก้ว บนฐานรองรับด้วยโมลีมีชื่อ โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย

สีประจำโรงเรียน

สีแสด หมายถึง สีแห่งความเป็นครูผู้ให้วิชา ความรู้

พระพุทธรูปประจำโรงเรียน

พระพุทธกาวีระโสตถิมหามงคล

ปรัชญาของโรงเรียน

ปญฺญา  โลกสฺมิ  ปชฺโชโต" "ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก"

คำขวัญของโรงเรียน

ใฝ่เรียนรู้  เชิดชูคุณธรรม  เลิศล้ำปัญญา พัฒนาสังคม ชื่นชมภูมิปัญญาไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ต้นไม้และดอกไม้ประจำโรงเรียน

ดอกพวงแสด

เพลงประจำโรงเรียน

เพลงมาร์ชกาวิละ คำร้อง/เรียบเรียง : คุณครูวรพงษ์ ทองเลิศ

[6]รายนามผู้อำนวยการ

ลำดับ รายนาม ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
1 คุณหญิงสวาท รัตนวราห พ.ศ. 2521-2521
2 นางดุษฎี พงศ์ศาสตร์ พ.ศ. 2521-2525
3 นายสาหร่าย แสงทอง พ.ศ. 2526-2530
4 นายประสิทธิ์ แสนไชย พ.ศ. 2530-2532
5 นายอรุณ อาษา พ.ศ. 2532-2535
6 นางพิวัลย์ วิบุลสันติ พ.ศ. 2535-2537
7 นายเขียน แสงหนุ่ม พ.ศ. 2537-2540
8 นายมานิตย์ ศรีพิทักษ์ พ.ศ. 2540-2543
9 นายสุรัตน์ เจียตระกูล พ.ศ. 2543-2544
10 นางปรานอม เชื้อศักดาหงษ์ พ.ศ. 2544-2546
11 นายธนกฤต วรรณลังกา พ.ศ. 2546-2548
12 นายชวลิต วิชาศิลป์ พ.ศ. 2548-2553
13 นายอุทัย ขัติวงษ์ พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 จำนวนนักเรียนโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
  2. https://iscps2013.files.wordpress.com/2016/07/e0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b88ae0b8b7e0b988e0b8ad-e0b8a3e0b8a3-e0b8a1e0b8b1e0b898e0b8a2e0b8a1.pdf รายชื่อโรงเรียนมาตราฐานสากล โรงเรียนกาวิละวิทยาลัยอยู่ลำดับที่ 418
  3. http://www.kwc.ac.th/data_13383 ประวัติโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
  4. http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 จำนวนห้องเรียนของโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
  5. http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_bobec.php?School_ID=1050130987&Area_CODE=101734 ข้อมูลอาคารสถานที่โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย
  6. http://www.kwc.ac.th/management-team

แหล่งข้อมูลอื่น

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย เว็บไชต์โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย

โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

46ICT Leadership Centre and Network Schools