ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phainplang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
ลบข้อความที่ไม่จำเป็น อาจเข้าข่ายการโฆษณาสถานศึกษาได้ ,ลบข้อมูลกิจกรรมที่มีอยู่ทุกโรงเรียน ,เพิ่มเอกสารอ้างอิง
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| group = สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19
| group = สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19
| district = [[เลย]]-[[หนองบัวลำภู]]
| district = [[เลย]]-[[หนองบัวลำภู]]
| students = 719 คน {{เทาเล็ก| (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)}}<ref>http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1042520465&Area_CODE=101719 จำนวนนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย</ref>
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอน
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|Japan}} [[ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีนกลาง]]
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|Japan}} [[ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีนกลาง]]
บรรทัด 23: บรรทัด 24:
}}
}}


'''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' ([[อักษรย่อ]] : จภ.ลย.; [[อังกฤษ]]: Princess Chulabhorn Science High School Loei : PCSHSLOEI,PCCBRLOEI) หรือเรียกย่อๆ ว่า '''จุฬาเลย''' เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษา|โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง]]ใน[[จังหวัดเลย]] ประเภท[[กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย|โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค]]ของรัฐ เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 นอกจากนี้โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ยังเป็นโรงเรียนที่ได้รับการจัดอันดับโดยอยู่ในอันดับที่ 96 จาก 2,800 โรงเรียนทั่วประเทศจากผลการทดสอบ O-net ประจำปี 2559 ที่ผ่านมาและเป็นอันดับที่ 1 ของจังหวัดเลยด้วย
'''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' ([[อักษรย่อ]] : จภ.ลย.; [[อังกฤษ]]: Princess Chulabhorn Science High School Loei : PCSHSLOEI,PCCBRLOEI) หรือเรียกย่อๆ ว่า '''จุฬาเลย''' เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษา|โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง]] ใน[[จังหวัดเลย]] ประเภท[[กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย|โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค]]ของรัฐ เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19


== ประวัติโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ==
== ประวัติโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ==
'''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ [[2 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2537]] ลงนามโดย [[นายสัมพันธ์ ทองสมัคร]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] และ [[นายวัชรินทร์ เกตะวันดี]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[จังหวัดเลย]] เขต 1 ประธานกรรมธิการ การศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ประสานงาน โดยเปิดรับนักเรียนในปีการศึกษา 2538 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประเภทสหศึกษาโดย'''[[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย]]''' เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน โดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปลาย
'''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ [[2 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2537]] ลงนามโดย [[นายสัมพันธ์ ทองสมัคร]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] และ [[นายวัชรินทร์ เกตะวันดี]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[จังหวัดเลย]] เขต 1 ประธานกรรมธิการ การศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ประสานงาน โดยเปิดรับนักเรียนในปีการศึกษา 2538 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประเภทสหศึกษาโดย'''[[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย]]''' เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน โดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปลาย


เนื่องจากในสภาพปัจจุบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและไม่หยุดยั้ง ทั้งยังเป็นปัจจัยที่สำคัญปัจจัยหนึ่งในการผลักดันให้การพัฒนาประเทศประสบความสำเร็จ แต่การจัดการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ยังไม่กว้างขวางเท่าที่ควร กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2536 ด้วยสำนึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม จึงได้ทำโครงการตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี ประกาศจัดตั้งใน 12 เขตการศึกษา เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2536 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง เชียงราย และ จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2537 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดมุกดาหาร เพชรบุรี สตูล และจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2538 ประกาศจัดตั้ง 3 โรงเรียน คือ จังหวัดลพบุรี พิษณุโลก และจังหวัดประทุมธานี ปีการศึกษา 2540 ประกาศจัดตั้งอีก 1 โรงเรียน ณ จังหวัดชลบุรี
เนื่องจากในสภาพปัจจุบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและไม่หยุดยั้ง ทั้งยังเป็นปัจจัยที่สำคัญปัจจัยหนึ่งในการผลักดันให้การพัฒนาประเทศประสบความสำเร็จ แต่การจัดการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ยังไม่กว้างขวางเท่าที่ควร กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2536 ด้วยสำนึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม จึงได้ทำโครงการตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี ประกาศจัดตั้งใน 12 เขตการศึกษา เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2536 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง เชียงราย และ จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2537 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดมุกดาหาร เพชรบุรี สตูล และจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2538 ประกาศจัดตั้ง 3 โรงเรียน คือ จังหวัดลพบุรี พิษณุโลก และจังหวัดประทุมธานี ปีการศึกษา 2540 ประกาศจัดตั้งอีก 1 โรงเรียน ณ จังหวัดชลบุรี
บรรทัด 32: บรรทัด 33:
ในการดังกล่าว กรมสามัญศึกษา(ในขณะนั้น) ได้รับพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี พระราชทานอนุญาตใช้นามโรงเรียนว่า '''“โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย”''' ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นที่ตั้ง รับนักเรียนแบบสหศึกษา ทั้งประจำ และ ไป - กลับ กรมสามัญศึกษาได้จัดสรรงบประมาณสำหรับก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบให้แก่โรงเรียนในเครือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี พระราชทานแผ่นศิลาฤกษ์ให้แก่โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ทั้ง 12 แห่งพร้อมกันทั่วประเทศในเวลา 14.49 น. ของวันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2539
ในการดังกล่าว กรมสามัญศึกษา(ในขณะนั้น) ได้รับพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี พระราชทานอนุญาตใช้นามโรงเรียนว่า '''“โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย”''' ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นที่ตั้ง รับนักเรียนแบบสหศึกษา ทั้งประจำ และ ไป - กลับ กรมสามัญศึกษาได้จัดสรรงบประมาณสำหรับก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบให้แก่โรงเรียนในเครือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี พระราชทานแผ่นศิลาฤกษ์ให้แก่โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ทั้ง 12 แห่งพร้อมกันทั่วประเทศในเวลา 14.49 น. ของวันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2539


ปัจจุบัน '''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' มีที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 160 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ถนนชนบท สายห้วยพอด - ภูบ่อบิด เลขที่ 129 หมู่ที่ 5 ตำบลธาตุ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ห่างจากศูนย์ราชการประมาณ 28 กิโลเมตร จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ซึ่งจัดการศึกษาในระดับช่วงชั้นที่ 3 และ ช่วงชั้นที่ 4 มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ปัจจุบัน '''โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย''' มีที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 160 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ถนนชนบท สายห้วยพอด - ภูบ่อบิด เลขที่ 129 หมู่ที่ 5 ตำบลธาตุ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ห่างจากศูนย์ราชการประมาณ 28 กิโลเมตร จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ซึ่งจัดการศึกษาในระดับช่วงชั้นที่ 3 และ ช่วงชั้นที่ 4 มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี <ref>https://gotoloei.com/ข้อมูล/โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย-เลย ประวัติโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย</ref>

== โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ==
นอกจากโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย แล้วยังมีโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย อื่นๆอีกกว่า 11 แห่ง ตามพื้นที่บริการของโรงเรียนซึ่งอ้างอิงตามเขตพื้นที่การศึกษาในช่วงที่ก่อตั้งโรงเรียน ดังนี้<ref name=":2"/>

[[ไฟล์:Map TH provinces by scoutscarf.png|250px|thumb|แผนที่แสดงเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย]]

{| class="wikitable"
|-
! ที่ !! โรงเรียน !! วันที่ก่อตั้ง{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} !! จังหวัดในเขตพื้นที่บริการ
|-
| 1 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]] || {{วันเกิด-อายุ|2536|7|27}} || [[นครศรีธรรมราช]] [[สงขลา]] [[ชุมพร]] [[พัทลุง]] [[สุราษฎร์ธานี]]
|-
| 2 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย]] || {{วันเกิด-อายุ|2536|7|27}} || [[เชียงราย]] [[เชียงใหม่]] [[น่าน]] [[พะเยา]] [[แพร่]] [[แม่ฮ่องสอน]] [[ลำปาง]] [[ลำพูน]]
|-
| 3 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง]] || {{วันเกิด-อายุ|2536|7|27}} || [[ตรัง]] [[ภูเก็ต]] [[กระบี่]] [[พังงา]] [[ระนอง]]
|-
| 4 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์]] || {{วันเกิด-อายุ|2536|7|27}} || [[บุรีรัมย์]] [[นครราชสีมา]] [[ชัยภูมิ]] [[ศรีสะเกษ]] [[สุรินทร์]] [[มหาสารคาม]]
|-
| 5 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร]] || {{วันเกิด-อายุ|2537|4|4}} || [[มุกดาหาร]] [[อุบลราชธานี]] [[กาฬสินธุ์]] [[นครพนม]] [[ยโสธร]] [[ร้อยเอ็ด]] [[อำนาจเจริญ]]
|-
| 6 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล]] || {{วันเกิด-อายุ|2537|5|20}} || [[สตูล]] [[ยะลา]] [[นราธิวาส]] [[ปัตตานี]]
|-
| 7 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี]] || {{วันเกิด-อายุ|2537|6|2}} || [[เพชรบุรี]] [[ราชบุรี]] [[กาญจนบุรี]] [[ประจวบคีรีขันธ์]] [[สมุทรสงคราม]] [[สุพรรณบุรี]]
|-
| 8 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย]] || {{วันเกิด-อายุ|2537|6|2}} || [[เลย]] [[อุดรธานี]] [[ขอนแก่น]] [[สกลนคร]] [[หนองคาย]] [[หนองบัวลำภู]] [[บึงกาฬ]]
|-
| 9 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก]] || {{วันเกิด-อายุ|2538|2|3}} || [[พิษณุโลก]] [[กำแพงเพชร]] [[ตาก]] [[นครสวรรค์]] [[พิจิตร]] [[เพชรบูรณ์]] [[สุโขทัย]] [[อุตรดิตถ์]]
|-
| 10 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี]] || {{วันเกิด-อายุ|2538|2|3}} || [[ลพบุรี]] [[ชัยนาท]] [[พระนครศรีอยุธยา]] [[สระบุรี]] [[สิงห์บุรี]] [[อ่างทอง]] [[อุทัยธานี]]
|-
| 11 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี]] || {{วันเกิด-อายุ|2538|7|31}} || [[ปทุมธานี]] [[นครปฐม]] [[นนทบุรี]] [[สมุทรสาคร]] [[สมุทรปราการ]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|-
| 12 || [[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี]] || {{วันเกิด-อายุ|2539|3|19}} || [[ชลบุรี]] [[จันทบุรี]] [[ฉะเชิงเทรา]] [[ตราด]] [[นครนายก]] [[ปราจีนบุรี]] [[ระยอง]] [[สระแก้ว]]
|}


== การคัดเลือกนักเรียน ==
== การคัดเลือกนักเรียน ==
การคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย ใช้รูปแบบการสมัครและการสอบคัดเลือกในรอบแรกเหมือนกันกับโรงเรียนอื่นๆในเครือจุฬาภรณ์ ส่วนการสอบในรอบที่สองนั้นแต่ละโรงเรียนจะเป็นผู้พิจารณารูปแบบ วัน เวลา และสถานที่สอบเอง
การคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย ใช้รูปแบบการสมัครและการสอบคัดเลือกในรอบแรกเหมือนกันกับโรงเรียนอื่นๆในเครือจุฬาภรณ์ ส่วนการสอบในรอบที่สองนั้นแต่ละโรงเรียนจะเป็นผู้พิจารณารูปแบบ วัน เวลา และสถานที่สอบเอง

=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ===
=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ===
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ของ[[สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]] รับนักเรียนแห่งละ 96 คน<ref>[http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M1/Annouce%20M1-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑] ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560</ref> โดยแบ่งรับนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ของ[[สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]] รับนักเรียนแห่งละ 96 คน<ref>http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M1/Annouce%20M1-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560</ref> โดยแบ่งรับนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่


* กลุ่มนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวนไม่น้อยกว่า 88 คน
* กลุ่มนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวนไม่น้อยกว่า 88 คน
บรรทัด 77: บรรทัด 45:


=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ===
=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ===

การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของ'''[[โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์]]''' รับนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวน 144 คน<ref>[http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M4/Annouce%20M4-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๑] ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560</ref>
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของ'''[[โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์]]''' รับนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวน 144 คน<ref>http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M4/Annouce%20M4-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560</ref>

==การเปลื่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียน==
==การเปลื่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียน==
[[สำนักพระราชวัง]]มีหนังสือที่ รล 0011.3/18298 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2561 แจ้ง[[รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ]] โดยอ้างถึงหนังสือ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ที่ ศธ 04278/2112 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2561เรื่องการเปลี่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ความว่า
[[สำนักพระราชวัง]] มีหนังสือที่ รล 0011.3/18298 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2561 แจ้ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ]] โดยอ้างถึงหนังสือ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ที่ ศธ 04278/2112 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2561เรื่องการเปลี่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ความว่า
{{คำพูด|ตามที่ ท่านได้มีหนังสือขอให้นำความกราบทูล [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ขอพระราชทานพระวินิจฉัยเรื่อง เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็น “'''[[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย]]'''” ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นสถานที่ตั้งของโรงเรียน และใช้นามภาษาอังกฤษว่า “'''Princess Chulabhorn Science High School'''” ความละเอียดตามหนังสือที่อ้างถึงแล้วนั้น
{{คำพูด|ตามที่ ท่านได้มีหนังสือขอให้นำความกราบทูล [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ขอพระราชทานพระวินิจฉัยเรื่อง เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็น “'''[[โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย]]'''” ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นสถานที่ตั้งของโรงเรียน และใช้นามภาษาอังกฤษว่า “'''Princess Chulabhorn Science High School'''” ความละเอียดตามหนังสือที่อ้างถึงแล้วนั้น การนี้ ความทราบฝ่าพระบาทแล้ว พระราชทานพระอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามที่กราบทูลขอมา<ref>http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/2018/07/20/change-school-name/</ref><ref>http://www.moe.go.th/websm/2010/nov/406.html</ref>}}


การนี้ ความทราบฝ่าพระบาทแล้ว พระราชทาน'''พระอนุญาต'''ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามที่กราบทูลขอมา
<ref>http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/2018/07/20/change-school-name/</ref><ref>http://www.moe.go.th/websm/2010/nov/406.html</ref>}}
== งานวันประเพณีของโรงเรียน ==
== งานวันประเพณีของโรงเรียน ==
=== งานราชพิธี ===
=== งานราชพิธี ===
* '''ถวายพระพร[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]''' เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ
* '''รับมอบของพระราชทาน-ถวายพระพรสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี''' เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ [[4 กรกฎาคม]]ของทุกปี
* '''รับมอบของพระราชทาน-ถวายพระพรสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี''' เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ [[4 กรกฎาคม]]ของทุกปี



รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:11, 4 ธันวาคม 2561

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
- Princess Chulabhorn's College Loei
- Princess Chulabhorn Science High School, Loei
ที่ตั้ง
แผนที่
ข้อมูล
ชื่ออื่นจภ.ลย. PCCLOEI
ประเภทโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
คำขวัญรักษ์ศักดิ์ศรี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ
สถาปนา2 มิถุนายน พ.ศ. 2537 (29 ปี 328 วัน)
เขตการศึกษาเลย-หนองบัวลำภู
หน่วยงานกำกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19
รหัส1042520465
ผู้อำนวยการนายกิตติชัย กรวยทอง
จำนวนนักเรียน719 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)[1]
ภาษาที่ใช้เป็นสื่อการสอนภาษาที่มีการเรียนการสอน ไทย ภาษาไทย
ญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่น
สหราชอาณาจักร ภาษาอังกฤษ
จีน ภาษาจีนกลาง
สี   น้ำเงิน - แสด
เพลงมาร์ชจุฬาภรณราชวิทยาลัย[2]ไฟล์:เพลงมาร์ชโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย.mp3
ต้นไม้ประจำโรงเรียนแคแสด
เว็บไซต์http://www.pccloei.ac.th

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย (อักษรย่อ : จภ.ลย.; อังกฤษ: Princess Chulabhorn Science High School Loei : PCSHSLOEI,PCCBRLOEI) หรือเรียกย่อๆ ว่า จุฬาเลย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในจังหวัดเลย ประเภทโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคของรัฐ เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19

ประวัติโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2537 ลงนามโดย นายสัมพันธ์ ทองสมัคร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ นายวัชรินทร์ เกตะวันดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเลย เขต 1 ประธานกรรมธิการ การศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ประสานงาน โดยเปิดรับนักเรียนในปีการศึกษา 2538 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประเภทสหศึกษาโดยโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน โดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปลาย

เนื่องจากในสภาพปัจจุบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและไม่หยุดยั้ง ทั้งยังเป็นปัจจัยที่สำคัญปัจจัยหนึ่งในการผลักดันให้การพัฒนาประเทศประสบความสำเร็จ แต่การจัดการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ยังไม่กว้างขวางเท่าที่ควร กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2536 ด้วยสำนึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม จึงได้ทำโครงการตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี ประกาศจัดตั้งใน 12 เขตการศึกษา เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2536 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง เชียงราย และ จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2537 ประกาศจัดตั้ง 4 โรงเรียน คือ จังหวัดมุกดาหาร เพชรบุรี สตูล และจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2538 ประกาศจัดตั้ง 3 โรงเรียน คือ จังหวัดลพบุรี พิษณุโลก และจังหวัดประทุมธานี ปีการศึกษา 2540 ประกาศจัดตั้งอีก 1 โรงเรียน ณ จังหวัดชลบุรี

ในการดังกล่าว กรมสามัญศึกษา(ในขณะนั้น) ได้รับพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี พระราชทานอนุญาตใช้นามโรงเรียนว่า “โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย” ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นที่ตั้ง รับนักเรียนแบบสหศึกษา ทั้งประจำ และ ไป - กลับ กรมสามัญศึกษาได้จัดสรรงบประมาณสำหรับก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบให้แก่โรงเรียนในเครือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี พระราชทานแผ่นศิลาฤกษ์ให้แก่โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ทั้ง 12 แห่งพร้อมกันทั่วประเทศในเวลา 14.49 น. ของวันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2539

ปัจจุบัน โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย มีที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 160 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ถนนชนบท สายห้วยพอด - ภูบ่อบิด เลขที่ 129 หมู่ที่ 5 ตำบลธาตุ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ห่างจากศูนย์ราชการประมาณ 28 กิโลเมตร จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ซึ่งจัดการศึกษาในระดับช่วงชั้นที่ 3 และ ช่วงชั้นที่ 4 มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี [3]

การคัดเลือกนักเรียน

การคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย ใช้รูปแบบการสมัครและการสอบคัดเลือกในรอบแรกเหมือนกันกับโรงเรียนอื่นๆในเครือจุฬาภรณ์ ส่วนการสอบในรอบที่สองนั้นแต่ละโรงเรียนจะเป็นผู้พิจารณารูปแบบ วัน เวลา และสถานที่สอบเอง

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับนักเรียนแห่งละ 96 คน[4] โดยแบ่งรับนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

  • กลุ่มนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวนไม่น้อยกว่า 88 คน
  • กลุ่มนักเรียนจากโรงเรียนขยายโอกาส (ได้แก่ โรงเรียนดีประจำตำบลตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 200 คน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน โรงเรียนพระปริยัติธรรม และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม) ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวนไม่เกิน 8 คน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

การรับนักเรียนเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษาที่สมัคร โดยสมัครและสอบรอบแรกผ่านการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รับนักเรียนจากโรงเรียนทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยเลย จำนวน 144 คน[5]

การเปลื่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียน

สำนักพระราชวัง มีหนังสือที่ รล 0011.3/18298 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2561 แจ้งรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ โดยอ้างถึงหนังสือกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ 04278/2112 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2561เรื่องการเปลี่ยนชื่อโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ความว่า

ตามที่ ท่านได้มีหนังสือขอให้นำความกราบทูล สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ขอพระราชทานพระวินิจฉัยเรื่อง เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย” ต่อท้ายด้วยชื่อจังหวัดที่เป็นสถานที่ตั้งของโรงเรียน และใช้นามภาษาอังกฤษว่า “Princess Chulabhorn Science High School” ความละเอียดตามหนังสือที่อ้างถึงแล้วนั้น การนี้ ความทราบฝ่าพระบาทแล้ว พระราชทานพระอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามที่กราบทูลขอมา[6][7]

งานวันประเพณีของโรงเรียน

งานราชพิธี

  • รับมอบของพระราชทาน-ถวายพระพรสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ 4 กรกฎาคมของทุกปี

ทั่วไป

  • วันสถาปนาโรงเรียน - กิจกรรมภายในโรงเรียน ทำบุญโรงเรียน จัดนิทรรศการวิชาการ และงานเลี้ยงฉลองในภาคค่ำ
  • PCC SCIENCE MATH TEST - กิจกรรมวิชาการระหว่างโรงเรียนในเครือข่ายโดยหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ
  • จุฬาภรณ์ฯสัมพันธ์ - กิจกรรมการแข่งขันกีฬาเพื่อกระชับความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่น
  • 2 มิถุนายน - วันสถาปนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
  • 4 กรกฎาคม - วันคล้ายวันประสูติของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
  • 25 มีนาคม - วันพิธีมอบใบประกาศนียบัตรของนักเรียนที่จบการศึกษา

อ้างอิง

  1. http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1042520465&Area_CODE=101719 จำนวนนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
  2. https://th.m.wikisource.org/wiki/มาร์ชจุฬาภรณราชวิทยาลัย
  3. https://gotoloei.com/ข้อมูล/โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย-เลย ประวัติโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
  4. http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M1/Annouce%20M1-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560
  5. http://www.pccnst.ac.th/sshs/newstudent/2018/M4/Annouce%20M4-2561.pdf ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยให้เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เรื่อง การรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560
  6. http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/2018/07/20/change-school-name/
  7. http://www.moe.go.th/websm/2010/nov/406.html