ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปูม้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| binomial = ''Portunus pelagicus''
| binomial = ''Portunus pelagicus''
| binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|Linnaeus]], [[ค.ศ. 1758|1758]])
| binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|Linnaeus]], [[ค.ศ. 1758|1758]])
|synonyms = *''Cancer pelagicus'' <small>Linnaeus, 1758</small>
}}
}}
'''ปูม้า''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Portunus pelagicus}}) จัดเป็น[[ปู]]ที่อาศัยอยู่ใน[[ทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง ที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''[[Portunus]]'' ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่ว[[โลก]] และพบในน่านน้ำ[[ไทย]]ราว 19 ชนิด<ref>[http://www.crab-trf.com/horse_crab.php ปูม้า]</ref>
'''ปูม้า''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Portunus pelagicus}}) จัดเป็น[[ปู]]ที่อาศัยอยู่ใน[[ทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง ที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''[[Portunus]]'' ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่ว[[โลก]] และพบในน่านน้ำ[[ไทย]]ราว 19 ชนิด<ref>{{cite web|url=http://www.crab-trf.com/horse_crab.php|title= ปูม้า|work=crab-tef}}</ref>


== ลักษณะ ==
== ลักษณะ ==
ลักษณะทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนตัว, อก และท้อง ส่วนหัวและอกจะอยู่ติดกัน มีกระดองหุ้มอยู่ตอนบน ทางด้านข้างทั้งสองของกระดองจะเป็นรอยหยักคล้ายฟันเลื่อยเป็นหนามแหลมข้างละ 9 อัน ขามีทั้งหมด 5 คู่ด้วยกัน คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใหญ่เพื่อใช้ป้องกันตัวและจับอาหาร ขาคู่ที่ 2, 3 และ 4 จะมีขนาดเล็กปลายแหลมใช้เป็นขาเดิน ขาคู่สุดท้ายตอนปลายมีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการ[[ว่ายน้ำ]] ขนาดกระดองสามารถโตเต็มที่ได้ราว 15-20 [[เซนติเมตร]]
ลักษณะทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนตัว, อก และท้อง ส่วนหัวและอกจะอยู่ติดกัน มีกระดองหุ้มอยู่ตอนบน ทางด้านข้างทั้งสองของกระดองจะเป็นรอยหยักคล้ายฟันเลื่อยเป็นหนามแหลมข้างละ 9 อัน ขามีทั้งหมด 5 คู่ด้วยกัน คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใหญ่เพื่อใช้ป้องกันตัวและจับอาหาร ขาคู่ที่ 2, 3 และ 4 จะมีขนาดเล็กปลายแหลมใช้เป็นขาเดิน ขาคู่สุดท้ายตอนปลายมีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการ[[ว่ายน้ำ]] ขนาดกระดองสามารถโตเต็มที่ได้ราว 15–20 [[เซนติเมตร]]


== การกระจายพันธุ์ ==
== การกระจายพันธุ์ ==
บรรทัด 23: บรรทัด 24:


== การขยายพันธุ์ ==
== การขยายพันธุ์ ==
ปูม้าตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะแตกต่างกันที่จับปิ้งและ[[สี]] ตัวผู้มีก้ามยาวเรียวกว่า มี[[สีน้ำเงิน|สีฟ้า]]อ่อนและมีจุด[[ขาว]]ตกกระทั่วไปบนกระดองและก้าม พื้นท้องเป็นสีขาว จับปิ้งเป็นรูป[[สามเหลี่ยม]]เรียวสูง ตัวเมียจะมีก้ามสั้นกว่ากระดองและก้ามมีสีฟ้าอมน้ำตาลอ่อนและมีจุดขาวประทั่วไปทั้งกระดองและก้าม เมื่อถึงฤดูกาลวางไข่ ปูม้าตัวเมียจะมี[[ไข่]]ติดอยู่บริเวณระยางค์ซึ่งเคยเป็นขาว่ายน้ำในระยะวัยอ่อน โดยในระยะแรกไข่จะอยู่ภายในกระดองต่อมากระดองทางหน้าท้องเปิดออกมาทำให้สามารถเห็นไข่ชัดเจน จึงมักเรียกปูม้าในระยะนี้ว่าปูม้าที่มีไข่นอกกระดอง ไข่นอกกระดองนี้ในขณะที่เจริญแบ่ง[[เซลล์]]อยู่ภายในเปลือกไข่ สีของไข่จะค่อย ๆ เปลี่ยนจาก[[สีเหลือง]]อม[[สีส้ม|ส้ม]]เป็นสีเหลืองปน[[เทา]] สีเทาและสีเทาอม[[ดำ]] ปูม้าที่มีไข่สีเทาอมดำนั้นจะวางไข่ภายใน 1-2 วัน
ปูม้าตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะแตกต่างกันที่จับปิ้งและ[[สี]] ตัวผู้มีก้ามยาวเรียวกว่า มี[[สีน้ำเงิน|สีฟ้า]]อ่อนและมีจุด[[ขาว]]ตกกระทั่วไปบนกระดองและก้าม พื้นท้องเป็นสีขาว จับปิ้งเป็นรูป[[สามเหลี่ยม]]เรียวสูง ตัวเมียจะมีก้ามสั้นกว่ากระดองและก้ามมีสีฟ้าอมน้ำตาลอ่อนและมีจุดขาวประทั่วไปทั้งกระดองและก้าม เมื่อถึงฤดูกาลวางไข่ ปูม้าตัวเมียจะมี[[ไข่]]ติดอยู่บริเวณระยางค์ซึ่งเคยเป็นขาว่ายน้ำในระยะวัยอ่อน โดยในระยะแรกไข่จะอยู่ภายในกระดองต่อมากระดองทางหน้าท้องเปิดออกมาทำให้สามารถเห็นไข่ชัดเจน จึงมักเรียกปูม้าในระยะนี้ว่าปูม้าที่มีไข่นอกกระดอง ไข่นอกกระดองนี้ในขณะที่เจริญแบ่ง[[เซลล์]]อยู่ภายในเปลือกไข่ สีของไข่จะค่อย ๆ เปลี่ยนจาก[[สีเหลือง]]อม[[สีส้ม|ส้ม]]เป็นสีเหลืองปน[[เทา]] สีเทาและสีเทาอม[[ดำ]] ปูม้าที่มีไข่สีเทาอมดำนั้นจะวางไข่ภายใน 1–2 วัน


== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ==
== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ==
ปูม้า นับเป็นปูอีกชนิดหนึ่งที่[[มนุษย์]]ใช้ปรุงเป็น[[อาหาร]]เช่นเดียวกับ[[ปูทะเล|ปูดำ]] (''Scylla serrata'') หรือปูทะเล โดยใช้ปรุงได้ทั้ง[[อาหารยุโรป]], [[อาหารจีน]], [[อาหารญี่ปุ่น]]และ[[อาหารไทย]] สำหรับอาหารไทยนั้นยังอาจปรุงเป็น[[ส้มตำ]]ปูม้าได้อีกด้วย
ปูม้า นับเป็นปูอีกชนิดหนึ่งที่[[มนุษย์]]ใช้ปรุงเป็น[[อาหาร]]เช่นเดียวกับ[[ปูทะเล|ปูดำ]] (''Scylla serrata'') หรือปูทะเล โดยใช้ปรุงได้ทั้ง[[อาหารยุโรป]], [[อาหารจีน]], [[อาหารญี่ปุ่น]]และ[[อาหารไทย]] สำหรับอาหารไทยนั้นยังอาจปรุงเป็น[[ส้มตำ]]ปูม้าได้อีกด้วย


ปูม้า จึงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]อีกชนิดหนึ่งที่หน่วยงานภาครัฐ คือ [[กรมประมง]]ได้ทำการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงและส่งเสริมให้เกษตรกร[[ชาวไทย]]เลี้ยงในเชิงพาณิชย์<ref>[http://www.nicaonline.com/new-22.htm การเพาะเลี้ยงปูม้า]จาก[[เว็บไซต์]][[กรมประมง]]</ref> เช่น ที่[[จังหวัดกระบี่]] เป็นต้น<ref>[http://www.pamame.com/magazine/%E2%80%9C%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2%E2%80%9D-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87.html “ปูม้า” อาชีพยั่งยืนของคนบ้านติงไหร]</ref>
ปูม้า จึงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]อีกชนิดหนึ่งที่หน่วยงานภาครัฐ คือ [[กรมประมง]]ได้ทำการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงและส่งเสริมให้เกษตรกร[[ชาวไทย]]เลี้ยงในเชิงพาณิชย์<ref>{{cite web|url=http://www.nicaonline.com/new-22.htm |title=การเพาะเลี้ยงปูม้า|work=[[กรมประมง]]}}</ref> เช่น ที่[[จังหวัดกระบี่]] เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.pamame.com/magazine/%E2%80%9C%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2%E2%80%9D-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87.html|title= “ปูม้า” อาชีพยั่งยืนของคนบ้านติงไหร|work=pamame}}</ref>


{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Portunus pelagicus|''Portunus pelagicus''}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Portunus pelagicus|''Portunus pelagicus''}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:01, 29 พฤศจิกายน 2561

ปูม้า
ปูม้าตัวผู้
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ไฟลัมย่อย: Crustacea
ชั้น: Malacostraca
อันดับ: Decapoda
อันดับฐาน: Brachyura
วงศ์: Portunidae
สกุล: Portunus
สปีชีส์: P.  pelagicus
ชื่อทวินาม
Portunus pelagicus
(Linnaeus, 1758)
ชื่อพ้อง
  • Cancer pelagicus Linnaeus, 1758

ปูม้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Portunus pelagicus) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชนิด[1]

ลักษณะ

ลักษณะทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนตัว, อก และท้อง ส่วนหัวและอกจะอยู่ติดกัน มีกระดองหุ้มอยู่ตอนบน ทางด้านข้างทั้งสองของกระดองจะเป็นรอยหยักคล้ายฟันเลื่อยเป็นหนามแหลมข้างละ 9 อัน ขามีทั้งหมด 5 คู่ด้วยกัน คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใหญ่เพื่อใช้ป้องกันตัวและจับอาหาร ขาคู่ที่ 2, 3 และ 4 จะมีขนาดเล็กปลายแหลมใช้เป็นขาเดิน ขาคู่สุดท้ายตอนปลายมีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการว่ายน้ำ ขนาดกระดองสามารถโตเต็มที่ได้ราว 15–20 เซนติเมตร

การกระจายพันธุ์

สำหรับปูม้าในประเทศไทยสามารถพบได้แทบทุกจังหวัดทั้งฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย โดยอาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำและแถบชายฝั่งทะเล

การขยายพันธุ์

ปูม้าตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะแตกต่างกันที่จับปิ้งและสี ตัวผู้มีก้ามยาวเรียวกว่า มีสีฟ้าอ่อนและมีจุดขาวตกกระทั่วไปบนกระดองและก้าม พื้นท้องเป็นสีขาว จับปิ้งเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียวสูง ตัวเมียจะมีก้ามสั้นกว่ากระดองและก้ามมีสีฟ้าอมน้ำตาลอ่อนและมีจุดขาวประทั่วไปทั้งกระดองและก้าม เมื่อถึงฤดูกาลวางไข่ ปูม้าตัวเมียจะมีไข่ติดอยู่บริเวณระยางค์ซึ่งเคยเป็นขาว่ายน้ำในระยะวัยอ่อน โดยในระยะแรกไข่จะอยู่ภายในกระดองต่อมากระดองทางหน้าท้องเปิดออกมาทำให้สามารถเห็นไข่ชัดเจน จึงมักเรียกปูม้าในระยะนี้ว่าปูม้าที่มีไข่นอกกระดอง ไข่นอกกระดองนี้ในขณะที่เจริญแบ่งเซลล์อยู่ภายในเปลือกไข่ สีของไข่จะค่อย ๆ เปลี่ยนจากสีเหลืองอมส้มเป็นสีเหลืองปนเทา สีเทาและสีเทาอมดำ ปูม้าที่มีไข่สีเทาอมดำนั้นจะวางไข่ภายใน 1–2 วัน

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ

ปูม้า นับเป็นปูอีกชนิดหนึ่งที่มนุษย์ใช้ปรุงเป็นอาหารเช่นเดียวกับปูดำ (Scylla serrata) หรือปูทะเล โดยใช้ปรุงได้ทั้งอาหารยุโรป, อาหารจีน, อาหารญี่ปุ่นและอาหารไทย สำหรับอาหารไทยนั้นยังอาจปรุงเป็นส้มตำปูม้าได้อีกด้วย

ปูม้า จึงเป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่หน่วยงานภาครัฐ คือ กรมประมงได้ทำการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงและส่งเสริมให้เกษตรกรชาวไทยเลี้ยงในเชิงพาณิชย์[2] เช่น ที่จังหวัดกระบี่ เป็นต้น[3]

อ้างอิง

  1. "ปูม้า". crab-tef.
  2. "การเพาะเลี้ยงปูม้า". กรมประมง.
  3. ""ปูม้า" อาชีพยั่งยืนของคนบ้านติงไหร". pamame.