ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Tajny protokoł 23.08.jpg|thumb|เนื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน)]]
[[ไฟล์:Tajny protokoł 23.08.jpg|thumb|เนื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน)]]
'''กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ''' ({{lang-en|Molotov–Ribbentrop Pact}}) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต [[วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ]] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี [[โยอาคิม ฟอน ริบเบินทร็อพ]] โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า '''กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต''' (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามใน[[มอสโก|กรุงมอสโก]] เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)<ref name="Malcher0">Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7</ref> ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง '''กติกาสัญญานาซี–โซเวียต''' (Nazi–Soviet Pact), '''กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน''', '''กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต''' หรือบางครั้งก็เรียกว่า '''พันธมิตรนาซี–โซเวียต'''<ref name="Fischer">Benjamin B. Fischer, "[https://www.cia.gov/library/center-for-the-study-of-intelligence/csi-publications/csi-studies/studies/winter99-00/art6.html The Katyn Controversy: Stalin's Killing Field]", ''Studies in Intelligences'', Winter 1999–2000, last accessed on [[10 December]] [[2005]]</ref> กติกาสัญญามีผลจนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 1941 เมื่อเยอรมนีเริ่ม[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]]
'''กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ''' ({{lang-en|Molotov–Ribbentrop Pact}}) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต [[วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ]] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี [[โยอาคิม ฟ็อน ริบเบินทร็อพ]] โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า '''กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต''' (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามใน[[มอสโก|กรุงมอสโก]] เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)<ref name="Malcher0">Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7</ref> ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง '''กติกาสัญญานาซี–โซเวียต''' (Nazi–Soviet Pact), '''กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน''', '''กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต''' หรือบางครั้งก็เรียกว่า '''พันธมิตรนาซี–โซเวียต'''<ref name="Fischer">Benjamin B. Fischer, "[https://www.cia.gov/library/center-for-the-study-of-intelligence/csi-publications/csi-studies/studies/winter99-00/art6.html The Katyn Controversy: Stalin's Killing Field]", ''Studies in Intelligences'', Winter 1999–2000, last accessed on [[10 December]] [[2005]]</ref> กติกาสัญญามีผลจนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 1941 เมื่อเยอรมนีเริ่ม[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]]


นอกเหนือจากการกำหนดเงื่อนไขในการไม่รุกรานระหว่างกันแล้ว กติกาสัญญาดังกล่าวยังรวมไปถึงข้อตกลงลับ ซึ่งแบ่งยุโรปตะวันออกให้อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนีและโซเวียต เพื่อให้มีการจัดระเบียบทางดินแดนและทางการเมืองในพื้นที่ดังกล่าวใหม่ หลังจากนั้น เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ร่วมกัน[[การบุกครองโปแลนด์|บุกครองโปแลนด์]] ตามด้วยการผนวก[[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] [[ลิทัวเนีย]]และดินแดนทางตอนเหนือของ[[โรมาเนีย]]เข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการผนวกดินแดนทางตะวันออกของ[[ฟินแลนด์]] หลังจากความพยายามรุกรานของสหภาพโซเวียตใน[[สงครามฤดูหนาว]] ภาคผนวกลับดังกล่าวถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดสงครามแห่งการรุกราน
นอกเหนือจากการกำหนดเงื่อนไขในการไม่รุกรานระหว่างกันแล้ว กติกาสัญญาดังกล่าวยังรวมไปถึงข้อตกลงลับ ซึ่งแบ่งยุโรปตะวันออกให้อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนีและโซเวียต เพื่อให้มีการจัดระเบียบทางดินแดนและทางการเมืองในพื้นที่ดังกล่าวใหม่ หลังจากนั้น เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ร่วมกัน[[การบุกครองโปแลนด์|บุกครองโปแลนด์]] ตามด้วยการผนวก[[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] [[ลิทัวเนีย]]และดินแดนทางตอนเหนือของ[[โรมาเนีย]]เข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการผนวกดินแดนทางตะวันออกของ[[ฟินแลนด์]] หลังจากความพยายามรุกรานของสหภาพโซเวียตใน[[สงครามฤดูหนาว]] ภาคผนวกลับดังกล่าวถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดสงครามแห่งการรุกราน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:03, 15 พฤศจิกายน 2561

เนื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน)

กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ (อังกฤษ: Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟ็อน ริบเบินทร็อพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)[1] ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียต[2] กติกาสัญญามีผลจนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 1941 เมื่อเยอรมนีเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา

นอกเหนือจากการกำหนดเงื่อนไขในการไม่รุกรานระหว่างกันแล้ว กติกาสัญญาดังกล่าวยังรวมไปถึงข้อตกลงลับ ซึ่งแบ่งยุโรปตะวันออกให้อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนีและโซเวียต เพื่อให้มีการจัดระเบียบทางดินแดนและทางการเมืองในพื้นที่ดังกล่าวใหม่ หลังจากนั้น เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ร่วมกันบุกครองโปแลนด์ ตามด้วยการผนวกเอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนียและดินแดนทางตอนเหนือของโรมาเนียเข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการผนวกดินแดนทางตะวันออกของฟินแลนด์ หลังจากความพยายามรุกรานของสหภาพโซเวียตในสงครามฤดูหนาว ภาคผนวกลับดังกล่าวถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดสงครามแห่งการรุกราน

อ้างอิง

  1. Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7
  2. Benjamin B. Fischer, "The Katyn Controversy: Stalin's Killing Field", Studies in Intelligences, Winter 1999–2000, last accessed on 10 December 2005