ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7783920 สร้างโดย 182.232.163.57 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ภิกษุทั้งหลาย ! <big>เราจักแสดงซึ่งปฏิจจสมุปบาท</big>''' แก่พวกเธอทั้งหลาย. พวกเธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั้น, จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์, เราจักกล่าวบัดนี้ ...
{{พุทธศาสนา}}
'''ปฏิจจสมุปบาท''' (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) ({{lang-pi|Paticcasamuppāda}}; {{lang-sa|Pratītyasamutpāda}}) เป็นชื่อ[[พระธรรม]]หัวข้อหนึ่งใน[[ศาสนาพุทธ]] เรียกอีกอย่างว่า '''อิทัปปัจจยตา''' หรือ '''ปัจจยาการ''' เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ


ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? (๑) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี.'''
* เพราะ[[อวิชชา]]เป็นปัจจัย [[สังขาร]]จึงมี
* เพราะสังขารเป็นปัจจัย [[วิญญาณ]]จึงมี
* เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย [[นามรูป]]จึงมี
* เพราะนามรูปเป็นปัจจัย [[สฬายตนะ]]จึงมี
* เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย [[ผัสสะ]]จึงมี
* เพราะผัสสะเป็นปัจจัย [[เวทนา]]จึงมี
* เพราะเวทนาเป็นปัจจัย [[ตัณหา]]จึงมี
* เพราะตัณหาเป็นปัจจัย [[อุปาทาน|อุปทาน]]จึงมี
* เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย [[ภพ]]จึงมี
* เพราะภพเป็นปัจจัย [[ชาติ]]จึงมี
* เพราะชาติเป็นปัจจัย [[ชรา]][[มรณะ]]จึงมี
* [[ความโศก]] [[ความคร่ำครวญ]] [[ทุกข์]] [[โทมนัส]] และ[[ความคับแค้นใจ]] ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา


ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา


* '''คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),'''
== ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์ ==
* '''คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),'''
* '''คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).'''


ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;
[[ทุกข์|ความทุกข์]] จะดับไปได้เพราะ [[ชาติ]] (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ


และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี'''” ดังนี้.
[[ชาติ]] จะดับไปได้เพราะ [[ภพ]] (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ


ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น
[[ภพ]] จะดับไปได้เพราะ [[อุปาทาน]] (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ


* อันเป็น '''ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น''',
[[อุปาทาน]] จะดับไปได้เพราะ [[ตัณหา]] (ความอยาก) ดับ
* เป็น '''อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น''',
* เป็น '''อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น''',
* เป็น '''อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น''';


ภิกษุทั้งหลาย ! '''<big>ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท</big>'''
[[ตัณหา]] จะดับไปได้เพราะ [[เวทนา]] (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ


* (๒) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติย่อมมี'''. ...ฯลฯ… ''<sup>*{๑}</sup>''
[[เวทนา]] จะดับไปได้เพราะ [[ผัสสะ]] (การสัมผัส) ดับ
* (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๔) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๕) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาย่อมมี'''. ...ฯลฯ...
* (๖) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๗) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๘) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะย่อมมี.''' ...ฯลฯ…
* (๙) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปย่อมมี.''' ...ฯลฯ...
* (๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณย่อมมี.''' ...ฯลฯ…
* (๑๑) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายย่อมมี.'''


ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;
[[ผัสสะ]] จะดับไปได้เพราะ [[สฬายตนะ]] ([[อายตนะ]]ใน๖+นอก๖) ดับ


'''คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),'''
[[สฬายตนะ]] จะดับไปได้เพราะ [[นามรูป]] (รูปขันธ์) ดับ


'''คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),'''
[[นามรูป]] จะดับไปได้เพราะ [[วิญญาณ]] (วิญญาณขันธ์) ดับ


'''คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).'''
[[วิญญาณ]] จะดับไปได้เพราะ [[สังขาร]] (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณ-[[เจตสิก]]) ดับ


ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;
[[สังขาร]] จะดับไปได้เพราะ [[อวิชชา]] (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ


และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี'''” ดังนี้.
== สมุทยวาร-นิโรธวาร ==
การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นการแสดงให้เห็น ความเกิดขึ้นแห่งธรรมต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยสืบทอดกันไปอย่างนี้ เป็น '''สมุทยวาร''' คือฝ่าย[[สมุทัย]] ใช้เป็นคำอธิบาย [[อริยสัจ]]ข้อที่สอง ([[สมุทัยสัจจ์]]) คือ แสดงให้เห็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
ปฏิจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้เรียกว่า '''อนุโลมปฏิจจสมุปบาท'''


ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น อันเป็น '''ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น''', เป็น '''อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น''', เป็น '''อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น''',
(ดังแสดงสองตัวอย่างที่ผ่านไป เป็น อนุโลมเทศนา และ ปฏิโลมเทศนา ของอนุโลมปฏิจจสมุปบาท ตามลำดับ)


เป็น '''อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น'''; ภิกษุทั้งหลาย ! '''ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท'''
การแสดงตรงกันข้ามกับข้างต้นนี้ เรียกว่า '''นิโรธวาร''' คือฝ่าย[[นิโรธ]] ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สาม ([[นิโรธสัจจ์]]) เรียกว่า '''ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท''' แสดงให้เห็นความดับไปแห่งทุกข์ ด้วยอาศัยความดับไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย สืบทอดกันไป เช่น


''<sup>*{๑}</sup> การละเปยยาล ...ฯลฯ... เช่นนี้ หมายความว่า ข้อความในข้อ (๒) เป็นต้นไปจนกระทั่งถึงข้อ (๑๐) นี้ ซ้ำกันโดยตลอดกับในข้อ (๑) ต่างกันแต่เพียงปัจจยาการแต่ละปัจจยาการเท่านั้น; สำหรับข้อสุดท้าย คือข้อ (๑๑) จะพิมพ์ไว้เต็มเหมือนข้อ (๑) อีกครั้งหนึ่ง.''
เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับวิญญาณจึงดับ ฯลฯ เพราะชาติ ดับชรามรณะ (จึงดับ) ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส ความคับแค้นใจ ก็ดับ


-บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐/๖๑.<ref group="พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค หน้าที่ ๒๒ ข้อที่ ๖๑ ">http://etipitaka.com/reference/thaipb/5/162/?code=thai&volume=16&item=61</ref>{{พุทธศาสนา}}
ดังนี้เรียกว่า อนุโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท


ภิกษุทั้งหลาย !  '''เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย'''; ( อวิชชา คือ ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ความไม่รู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความไม่รู้ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งทุกข์. )
ส่วนปฏิโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ก็พึงแสดงย้อนว่า ชรามรณะเป็นต้น ดับเพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ

* (๑๐) '''เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย   จึงมีวิญญาณ;'''
* (๙) '''เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย  จึงมีนามรูป;   '''
* (๘) '''เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย  จึงมีสฬายตนะ; '''
* (๗) '''เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; '''
* (๖) '''เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย   จึงมีเวทนา;   '''
* (๕) '''เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย  จึงมีตัณหา; '''
* (๔) '''เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย  จึงมีอุปาทาน; '''
* (๓) '''เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย  จึงมีภพ;   '''
* (๒) '''เพราะมีภพเป็นปัจจัย  จึงมีชาติ;'''
* (๑) '''เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน''' '''ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.'''  

(๑) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ชรามรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความสิ้นไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า ชรา. การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์ คือ ชีวิตจากสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า มรณะ'''. ชรานี้ด้วย มรณะนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชรามรณะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ; ความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งชาติ; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

(๒) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชาติ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ; ความดับไม่เหลือแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งภพ; ''...ฯลฯ...''

(๓) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภพทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ภพ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอุปาทาน; ความดับไม่เหลือแห่งภพ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน; ''...ฯลฯ...''

(๔) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งตัณหาทั้งหลาย ๖ หมู่ เหล่านี้ คือ ความอยากในรูป ความอยากในเสียง ...ในกลิ่น ...ในรส ...ในโผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย) ความอยากในธรรมารมณ์ (สัมผัสทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ตัณหา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา; ความดับไม่เหลือแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งเวทนา; .''..ฯลฯ...''

(๕) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งเวทนาทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ เวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก... ทางลิ้น ...ทางกาย และเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางใจ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า เวทนา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ; .''..ฯลฯ...''

(๖) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งผัสสะทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก ...ทางลิ้น ...ทางกาย สัมผัสทางใจ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ผัสสะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ; ความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ; .''..ฯลฯ...''

(๗) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''สฬายตนะ เป็นอย่างไรเล่า ? จักข๎วายตนะ ( ตา+รูป ) โสตายตนะ (หู+เสียง) ฆานายตนะ (จมูก + กลิ่น) ชิวหายตนะ (ลิ้น + รส) กายายตนะ (กาย + โผฏฐัพพะ) มนายตนะ (ใจ + ธรรมารมณ์)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่าสฬายตนะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป; ความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป; .''..ฯลฯ...''

(๘) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ : นี้เรียกว่านาม. มหาภูตทั้งสี่ด้วย รูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย : นี้เรียกว่า รูป. นามนี้ด้วย รูปนี้ด้วย ย่อมมีอยู่อย่างนี้''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า นามรูป. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ; ความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ; .''..ฯลฯ...''

(๙) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งวิญญาณทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางตา) โสตวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางหู) ฆานวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางจมูก) ชิวหาวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางลิ้น) กายวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางใจ) มโนวิญญาณ (สิ่งรู้แจ้งทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า วิญญาณ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสังขาร; .''..ฯลฯ...''

(๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! สังขารทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กายสังขาร (ความปรุงแต่งทางกาย) วจีสังขาร (ความปรุงแต่งทางวาจา) จิตตสังขาร (ความปรุงแต่งทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอวิชชา; ความดับไม่เหลือแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอวิชชา; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งสังขาร, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

ภิกษุทั้งหลาย ! '''ในกาลใดแล อริยสาวก ย่อมมารู้ทั่วถึงซึ่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย (เหตุ) ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนั้น ว่า :- '''“ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทิฏฐิ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทัสสนะ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้มาถึงพระสัทธรรมนี้แล้ว”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ได้เห็นอยู่ซึ่งพระสัทธรรมนี้”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ประกอบแล้วด้วยญาณอันเป็นเสขะ”''' ดังนี้บ้าง;'''“ผู้ประกอบแล้วด้วยวิชชาอันเป็นเสขะ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ถึงซึ่งกระแสแห่งธรรมแล้ว”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ประเสริฐมีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส”''' ดังนี้บ้าง;'''“ยืนอยู่จรดประตูแห่งอมตะ”''' ดังนี้บ้าง, ดังนี้ แล.

-บาลี  นิทาน. สํ. ๑๖/๕๐/๘๘.


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง)
{{เริ่มอ้างอิง}}

* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ)
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]

* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=1455&Z=1887 มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐]
http://etipitaka.com/
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=16&A=590&Z=641 ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖]
* [[พุทธทาส|พุทธทาสภิกขุ]]. "[http://www.pantip.com/~buddhadasa/self/self_index.html ตัวกู-ของกู ฉบับย่อความ]".
{{จบอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.nkgen.com/ ปฏิจสมุปบาท]
*[[ปฏิจสมุปบาท]]


[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:57, 23 ตุลาคม 2561

ภิกษุทั้งหลาย ! เราจักแสดงซึ่งปฏิจจสมุปบาท แก่พวกเธอทั้งหลาย. พวกเธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั้น, จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์, เราจักกล่าวบัดนี้ ...

ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? (๑) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี.

ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;

  • คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),
  • คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),
  • คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).

ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;

และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี” ดังนี้.

ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น

  • อันเป็น ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น,
  • เป็น อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น,
  • เป็น อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น,
  • เป็น อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น;

ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท

  • (๒) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติย่อมมี. ...ฯลฯ… *{๑}
  • (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๔) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๕) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาย่อมมี. ...ฯลฯ...
  • (๖) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๗) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๘) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๙) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปย่อมมี. ...ฯลฯ...
  • (๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณย่อมมี. ...ฯลฯ…
  • (๑๑) ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายย่อมมี.

ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;

คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),

คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),

คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).

ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;

และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี” ดังนี้.

ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น อันเป็น ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น, เป็น อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น, เป็น อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น,

เป็น อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท

*{๑} การละเปยยาล ...ฯลฯ... เช่นนี้ หมายความว่า ข้อความในข้อ (๒) เป็นต้นไปจนกระทั่งถึงข้อ (๑๐) นี้ ซ้ำกันโดยตลอดกับในข้อ (๑) ต่างกันแต่เพียงปัจจยาการแต่ละปัจจยาการเท่านั้น; สำหรับข้อสุดท้าย คือข้อ (๑๑) จะพิมพ์ไว้เต็มเหมือนข้อ (๑) อีกครั้งหนึ่ง.

-บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐/๖๑.[พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค หน้าที่ ๒๒ ข้อที่ ๖๑ 1]

ภิกษุทั้งหลาย !  เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; ( อวิชชา คือ ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ความไม่รู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความไม่รู้ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งทุกข์. )

  • (๑๐) เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย   จึงมีวิญญาณ;
  • (๙) เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย  จึงมีนามรูป;   
  • (๘) เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย  จึงมีสฬายตนะ; 
  • (๗) เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; 
  • (๖) เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย   จึงมีเวทนา;   
  • (๕) เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย  จึงมีตัณหา; 
  • (๔) เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย  จึงมีอุปาทาน; 
  • (๓) เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย  จึงมีภพ;   
  • (๒) เพราะมีภพเป็นปัจจัย  จึงมีชาติ;
  • (๑) เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.  

(๑) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ชรามรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความสิ้นไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า ชรา. การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์ คือ ชีวิตจากสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า มรณะ. ชรานี้ด้วย มรณะนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชรามรณะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ; ความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งชาติ; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

(๒) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชาติ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ; ความดับไม่เหลือแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งภพ; ...ฯลฯ...

(๓) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภพทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ภพ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอุปาทาน; ความดับไม่เหลือแห่งภพ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน; ...ฯลฯ...

(๔) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งตัณหาทั้งหลาย ๖ หมู่ เหล่านี้ คือ ความอยากในรูป ความอยากในเสียง ...ในกลิ่น ...ในรส ...ในโผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย) ความอยากในธรรมารมณ์ (สัมผัสทางใจ) : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ตัณหา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา; ความดับไม่เหลือแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งเวทนา; ...ฯลฯ...

(๕) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งเวทนาทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ เวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก... ทางลิ้น ...ทางกาย และเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางใจ : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า เวทนา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ; ...ฯลฯ...

(๖) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งผัสสะทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก ...ทางลิ้น ...ทางกาย สัมผัสทางใจ : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ผัสสะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ; ความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ; ...ฯลฯ...

(๗) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ สฬายตนะ เป็นอย่างไรเล่า ? จักข๎วายตนะ ( ตา+รูป ) โสตายตนะ (หู+เสียง) ฆานายตนะ (จมูก + กลิ่น) ชิวหายตนะ (ลิ้น + รส) กายายตนะ (กาย + โผฏฐัพพะ) มนายตนะ (ใจ + ธรรมารมณ์) : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่าสฬายตนะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป; ความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป; ...ฯลฯ...

(๘) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ : นี้เรียกว่านาม. มหาภูตทั้งสี่ด้วย รูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย : นี้เรียกว่า รูป. นามนี้ด้วย รูปนี้ด้วย ย่อมมีอยู่อย่างนี้ : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า นามรูป. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ; ความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ; ...ฯลฯ...

(๙) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งวิญญาณทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางตา) โสตวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางหู) ฆานวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางจมูก) ชิวหาวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางลิ้น) กายวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางใจ) มโนวิญญาณ (สิ่งรู้แจ้งทางใจ) : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า วิญญาณ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสังขาร; ...ฯลฯ...

(๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! สังขารทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กายสังขาร (ความปรุงแต่งทางกาย) วจีสังขาร (ความปรุงแต่งทางวาจา) จิตตสังขาร (ความปรุงแต่งทางใจ) : ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอวิชชา; ความดับไม่เหลือแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอวิชชา; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งสังขาร, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

ภิกษุทั้งหลาย ! ในกาลใดแล อริยสาวก ย่อมมารู้ทั่วถึงซึ่งธรรม อันเป็นปัจจัย (เหตุ) ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุแห่งธรรม อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; มารู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งธรรม อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; มารู้ทั่วถึงซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งธรรม อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนั้น ว่า :- “ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทิฏฐิ” ดังนี้บ้าง; “ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทัสสนะ” ดังนี้บ้าง; “ผู้มาถึงพระสัทธรรมนี้แล้ว” ดังนี้บ้าง; “ผู้ได้เห็นอยู่ซึ่งพระสัทธรรมนี้” ดังนี้บ้าง; “ผู้ประกอบแล้วด้วยญาณอันเป็นเสขะ” ดังนี้บ้าง;“ผู้ประกอบแล้วด้วยวิชชาอันเป็นเสขะ” ดังนี้บ้าง; “ผู้ถึงซึ่งกระแสแห่งธรรมแล้ว” ดังนี้บ้าง; “ผู้ประเสริฐมีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส” ดังนี้บ้าง;“ยืนอยู่จรดประตูแห่งอมตะ” ดังนี้บ้าง, ดังนี้ แล.

-บาลี  นิทาน. สํ. ๑๖/๕๐/๘๘.

อ้างอิง

พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง)

พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ)

http://etipitaka.com/

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค หน้าที่ ๒๒ ข้อที่ ๖๑" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค หน้าที่ ๒๒ ข้อที่ ๖๑"/> ที่สอดคล้องกัน