ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
[[ไฟล์:Robert2Franc Constance of Arles.jpg|thumb|ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ของกงสต็องส์ที่กำลังจำนนต่อพระโอรส พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Robert2Franc Constance of Arles.jpg|thumb|ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ของกงส์ต็องส์ที่กำลังจำนนต่อพระโอรส พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]
'''กงสต็องส์แห่งอาร์ล''' ({{Lang-fr|Constance d'Arles}}) หรือ '''กงสต็องส์แห่งพรอว็องส์''' ({{lang|fr|Constance de Provence}}) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งฝรั่งเศสจากการเป็นพระมเหสีคนที่สามของ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]]
'''กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล''' ({{Lang-fr|Constance d'Arles}}) หรือ '''กงส์ต็องส์แห่งพรอว็องส์''' ({{lang|fr|Constance de Provence}}) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งฝรั่งเศสจากการเป็นพระมเหสีคนที่สามของ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
กงสต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11</ref> กงสต็องส์เป็นบุตรสาวของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับอาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌู บุตรสาวของฟูลก์ที่ 2 แห่งอ็องฌู<ref name=":0">Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187</ref> พระองค์เป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 แห่งพรอว็องส์<ref name=":0" />
กงส์ต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11</ref> กงส์ต็องส์เป็นบุตรสาวของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับอาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌู บุตรสาวของฟูลก์ที่ 2 แห่งอ็องฌู<ref name=":0">Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187</ref> พระองค์เป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 แห่งพรอว็องส์<ref name=":0" />


กงสต็องส์แต่งงานกับ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์]]หลังพระองค์หย่าขาดจากพระมเหสีคนที่สอง [[แบร์ตแห่งบูร์กอญ พระราชินีแห่งฝรั่งเศส|แบร์ตแห่งบูร์กอญ]]<ref>Constance Bouchard, ''Those of My Blood: Creating Noble Families in Medieval Francia'' (Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2001), p. 47</ref> การแต่งงานเป็นการแต่งงานที่เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงสต็องส์ และกงสต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์เข้ามาในฝรั่งเศส อูกแห่งโบแว สหายของรอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมกษัตริย์ให้ทอดทิ้งกงสต็องส์ในปี ค.ศ. 1007 ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะด้วยน้ำมือของกงสต็องส์ที่ขอให้อัศวิน 12 คนของญาติของพระองค์ ฟูลก์ แนรา ทำ<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13''</ref>
กงส์ต็องส์แต่งงานกับ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์]]หลังพระองค์หย่าขาดจากพระมเหสีคนที่สอง [[แบร์ตแห่งบูร์กอญ พระราชินีแห่งฝรั่งเศส|แบร์ตแห่งบูร์กอญ]]<ref>Constance Bouchard, ''Those of My Blood: Creating Noble Families in Medieval Francia'' (Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2001), p. 47</ref> การแต่งงานเป็นการแต่งงานที่เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงส์ต็องส์ และกงส์ต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์เข้ามาในฝรั่งเศส อูกแห่งโบแว สหายของรอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมกษัตริย์ให้ทอดทิ้งกงส์ต็องส์ในปี ค.ศ. 1007 ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะด้วยน้ำมือของกงส์ต็องส์ที่ขอให้อัศวิน 12 คนของญาติของพระองค์ ฟูลก์ แนรา ทำ<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13''</ref>


ในปี ค.ศ. 1010 รอแบร์ไปโรมโดยมีอดีตพระมเหสีแบร์ตเดินทางไปด้วย เพื่อขออนุญาตหย่าขาดกับกงสต็องส์และแต่งงานใหม่กับแบร์ต [[สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4|พระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4]] ไม่อนุมัติการแต่งงานระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจาก[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5|พระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5]] และรอแบร์ทิ้งพระมเหสีมาแล้วสองคน คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14''</ref>
ในปี ค.ศ. 1010 รอแบร์ไปโรมโดยมีอดีตพระมเหสีแบร์ตเดินทางไปด้วย เพื่อขออนุญาตหย่าขาดกับกงส์ต็องส์และแต่งงานใหม่กับแบร์ต [[สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4|พระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4]] ไม่อนุมัติการแต่งงานระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจาก[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5|พระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5]] และรอแบร์ทิ้งพระมเหสีมาแล้วสองคน คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14''</ref>


กงสต็องส์เร่งเร้าให้พระโอรสคนโตของพระองค์ อูกเลอกร็อง ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมเคียงข้างพระบิดาในปี ค.ศ. 1017<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16''</ref> แต่ต่อมาอูกเรียกร้องให้บิดามารดาแบ่งปันอำนาจให้พระองค์และก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 กงสต็องส์โกรธจัดเมื่อรู้ว่าพระโอรสก่อกบฏ พระองค์ดุด่าต่อว่าอูก ต่อมาอูกคืนดีกับบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ก็สิ้นพระชนม์ อาจจะตอนพระชนมายุ 18 พรรษา สองสามีภรรยาเสียใจอย่างหนัก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนผู้คนเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref>
กงส์ต็องส์เร่งเร้าให้พระโอรสคนโตของพระองค์ อูกเลอกร็อง ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมเคียงข้างพระบิดาในปี ค.ศ. 1017<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16''</ref> แต่ต่อมาอูกเรียกร้องให้บิดามารดาแบ่งปันอำนาจให้พระองค์และก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 กงส์ต็องส์โกรธจัดเมื่อรู้ว่าพระโอรสก่อกบฏ พระองค์ดุด่าต่อว่าอูก ต่อมาอูกคืนดีกับบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ก็สิ้นพระชนม์ อาจจะตอนพระชนมายุ 18 พรรษา สองสามีภรรยาเสียใจอย่างหนัก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนผู้คนเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref>


รอแบร์กับกงสต็องส์ทะเลาะกันว่าจะให้พระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่คนไหนได้สืบทอดบัลลังก์ รอแบร์อยากให้เป็นพระโอรสคนที่สอง [[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|อ็องรี]] ขณะที่กงสต็องส์ต้องการให้เป็นพระโอรสคนที่สาม รอแบร์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref> แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปหลายคนที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีก็ได้รับการสวมมงกุฎในปี ค.ศ. 1027
รอแบร์กับกงส์ต็องส์ทะเลาะกันว่าจะให้พระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่คนไหนได้สืบทอดบัลลังก์ รอแบร์อยากให้เป็นพระโอรสคนที่สอง [[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|อ็องรี]] ขณะที่กงส์ต็องส์ต้องการให้เป็นพระโอรสคนที่สาม รอแบร์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref> แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปหลายคนที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีก็ได้รับการสวมมงกุฎในปี ค.ศ. 1027


[[ไฟล์:Robert Konstancie.jpg|thumb|หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงสต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี]]
[[ไฟล์:Robert Konstancie.jpg|thumb|หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี]]
กงสต็องส์สนับสนุนพระโอรสทั้งสองให้ก่อกบฏ และทั้งคู่เริ่มโจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่พระองค์ไม่เคยได้รับ ส่วนอ็องรีปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ก็ยอมรับข้อเสนอของทั้งคู่และทำข้อตกลงสันติภาพที่จะคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์
กงส์ต็องส์สนับสนุนพระโอรสทั้งสองให้ก่อกบฏ และทั้งคู่เริ่มโจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่พระองค์ไม่เคยได้รับ ส่วนอ็องรีปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ก็ยอมรับข้อเสนอของทั้งคู่และทำข้อตกลงสันติภาพที่จะคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์


พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57</ref> หลังจากนั้นไม่นานกงสต็องส์ก็ล้มป่วย พระองค์ยังหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง กงสต็องส์ยึดดินแดนอันเป็นสินสอดของพระองค์และปฏิเสธที่จะยอมจำนนต่อทั้งคู่ อ็องรีหนีไปนอร์ม็องดีที่พระองค์ได้รับการช่วยเหลือ อาวุธ และทหารจากพระอนุชา รอแบร์ พระองค์กลับมาปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซี แต่กงสต็องหนีไปปงตวซ พระองค์ยอมจำนนเมื่ออ็องรีเริ่มยึดเลอปุยแซและสาบานว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน
พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57</ref> หลังจากนั้นไม่นานกงส์ต็องส์ก็ล้มป่วย พระองค์ยังหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง กงส์ต็องส์ยึดดินแดนอันเป็นสินสอดของพระองค์และปฏิเสธที่จะยอมจำนนต่อทั้งคู่ อ็องรีหนีไปนอร์ม็องดีที่พระองค์ได้รับการช่วยเหลือ อาวุธ และทหารจากพระอนุชา รอแบร์ พระองค์กลับมาปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซี แต่กงสต็องหนีไปปงตวซ พระองค์ยอมจำนนเมื่ออ็องรีเริ่มยึดเลอปุยแซและสาบานว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน


กงสต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032<ref name=":0" /> และถูกฝังเคียงข้างพระสวามี รอแบร์ ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี<ref>Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', ''The Art Bulletin'', Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225</ref>
กงส์ต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032<ref name=":0" /> และถูกฝังเคียงข้างพระสวามี รอแบร์ ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี<ref>Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', ''The Art Bulletin'', Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:17, 16 ตุลาคม 2561

ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ของกงส์ต็องส์ที่กำลังจำนนต่อพระโอรส พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล (ฝรั่งเศส: Constance d'Arles) หรือ กงส์ต็องส์แห่งพรอว็องส์ (Constance de Provence) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งฝรั่งเศสจากการเป็นพระมเหสีคนที่สามของพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ประวัติ

กงส์ต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986[1] กงส์ต็องส์เป็นบุตรสาวของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับอาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌู บุตรสาวของฟูลก์ที่ 2 แห่งอ็องฌู[2] พระองค์เป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 แห่งพรอว็องส์[2]

กงส์ต็องส์แต่งงานกับพระเจ้ารอแบร์หลังพระองค์หย่าขาดจากพระมเหสีคนที่สอง แบร์ตแห่งบูร์กอญ[3] การแต่งงานเป็นการแต่งงานที่เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงส์ต็องส์ และกงส์ต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์เข้ามาในฝรั่งเศส อูกแห่งโบแว สหายของรอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมกษัตริย์ให้ทอดทิ้งกงส์ต็องส์ในปี ค.ศ. 1007 ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะด้วยน้ำมือของกงส์ต็องส์ที่ขอให้อัศวิน 12 คนของญาติของพระองค์ ฟูลก์ แนรา ทำ[4]

ในปี ค.ศ. 1010 รอแบร์ไปโรมโดยมีอดีตพระมเหสีแบร์ตเดินทางไปด้วย เพื่อขออนุญาตหย่าขาดกับกงส์ต็องส์และแต่งงานใหม่กับแบร์ต พระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4 ไม่อนุมัติการแต่งงานระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจากพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 และรอแบร์ทิ้งพระมเหสีมาแล้วสองคน คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"[5]

กงส์ต็องส์เร่งเร้าให้พระโอรสคนโตของพระองค์ อูกเลอกร็อง ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมเคียงข้างพระบิดาในปี ค.ศ. 1017[6] แต่ต่อมาอูกเรียกร้องให้บิดามารดาแบ่งปันอำนาจให้พระองค์และก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 กงส์ต็องส์โกรธจัดเมื่อรู้ว่าพระโอรสก่อกบฏ พระองค์ดุด่าต่อว่าอูก ต่อมาอูกคืนดีกับบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ก็สิ้นพระชนม์ อาจจะตอนพระชนมายุ 18 พรรษา สองสามีภรรยาเสียใจอย่างหนัก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนผู้คนเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์[7]

รอแบร์กับกงส์ต็องส์ทะเลาะกันว่าจะให้พระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่คนไหนได้สืบทอดบัลลังก์ รอแบร์อยากให้เป็นพระโอรสคนที่สอง อ็องรี ขณะที่กงส์ต็องส์ต้องการให้เป็นพระโอรสคนที่สาม รอแบร์[8] แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปหลายคนที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีก็ได้รับการสวมมงกุฎในปี ค.ศ. 1027

หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี

กงส์ต็องส์สนับสนุนพระโอรสทั้งสองให้ก่อกบฏ และทั้งคู่เริ่มโจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่พระองค์ไม่เคยได้รับ ส่วนอ็องรีปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ก็ยอมรับข้อเสนอของทั้งคู่และทำข้อตกลงสันติภาพที่จะคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์

พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031[9] หลังจากนั้นไม่นานกงส์ต็องส์ก็ล้มป่วย พระองค์ยังหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง กงส์ต็องส์ยึดดินแดนอันเป็นสินสอดของพระองค์และปฏิเสธที่จะยอมจำนนต่อทั้งคู่ อ็องรีหนีไปนอร์ม็องดีที่พระองค์ได้รับการช่วยเหลือ อาวุธ และทหารจากพระอนุชา รอแบร์ พระองค์กลับมาปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซี แต่กงสต็องหนีไปปงตวซ พระองค์ยอมจำนนเมื่ออ็องรีเริ่มยึดเลอปุยแซและสาบานว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน

กงส์ต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032[2] และถูกฝังเคียงข้างพระสวามี รอแบร์ ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี[10]

อ้างอิง

  1. Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11
  2. 2.0 2.1 2.2 Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187
  3. Constance Bouchard, Those of My Blood: Creating Noble Families in Medieval Francia (Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2001), p. 47
  4. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13
  5. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14
  6. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16
  7. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18
  8. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18
  9. Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57
  10. Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', The Art Bulletin, Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225