ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไพบูลย์ คุ้มฉายา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Toneder (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Jaybroom (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา หรือที่สื่อมวลชนมักจะเรียกว่า ''บิ๊กต๊อก'' เกิดเมื่อวันที่ [[21 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] ที่ตำบลบ้านดอน [[อำเภออู่ทอง]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นบุตรของนายลออกับ นางจันทร์ คุ้มฉายา มีน้องชายชื่อ นายทรงบท คุ้มฉายา ดำรงตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านดอน โดยครอบครัวสืบเชื้อสาย[[ไทยทรงดำ]]หรือลาวโซ่งมาตั้งแต่อดีต<ref>กรุงเทพธุรกิจ โฟกัส, ''นายพลไทดำ''. "แกะรอยการเมือง" โดย ประชา บูรพาวิถี. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 30 ฉบับที่ 10305: วันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559</ref>
พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา หรือที่สื่อมวลชนมักจะเรียกว่า ''บิ๊กต๊อก'' เกิดเมื่อวันที่ [[21 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] ที่ตำบลบ้านดอน [[อำเภออู่ทอง]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นบุตรของนายลออกับ นางจันทร์ คุ้มฉายา มีน้องชายชื่อ นายทรงบท คุ้มฉายา ดำรงตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านดอน โดยครอบครัวสืบเชื้อสาย[[ไทยทรงดำ]]หรือลาวโซ่งมาตั้งแต่อดีต<ref>กรุงเทพธุรกิจ โฟกัส, ''นายพลไทดำ''. "แกะรอยการเมือง" โดย ประชา บูรพาวิถี. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 30 ฉบับที่ 10305: วันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559</ref>


พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา สมรสกับ นางพจนี คุ้มฉายา โดยมีบุตรธิดารวม 6 คน คือ นางอิงฆ์พลัฏฐ์ อำไพวิทย์ ปัจจุบันได้สมรสกับ นายพีรพล อำไพวิทย์ ธีระพงศ์ คุ้มฉายา ธีระวัฒน์ คุ้มฉายา ธีระศักดิ์ คุ้มฉายา สุดารัตน์ คุ้มฉายา ธวัลรัตน์ คุ้มฉายา<ref>http://www.matichon.co.th/news/258036</ref>
พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา สมรสกับ นางพจนี คุ้มฉายา โดยมีบุตรธิดารวม 6 คน คือ นางอิงฆ์พลัฏฐ์ อำไพวิทย์ (ปัจจุบันได้สมรสกับ นายพีรพล อำไพวิทย์) ธีระพงศ์ คุ้มฉายา ธีระวัฒน์ คุ้มฉายา ธีระศักดิ์ คุ้มฉายา สุดารัตน์ คุ้มฉายา และธวัลรัตน์ คุ้มฉายา<ref>http://www.matichon.co.th/news/258036</ref>


== ประวัติการทำงานในฐานะราชองครักษ์พิเศษ ==
== ประวัติการทำงานในฐานะราชองครักษ์พิเศษ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:05, 11 ตุลาคม 2561

ไพบูลย์ คุ้มฉายา
ไฟล์:ไพบูลย์1.jpeg
องคมนตรี
เริ่มดำรงตำแหน่ง
6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
(7 ปี 139 วัน)
กษัตริย์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ดำรงตำแหน่ง
30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559[1]
นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา
ก่อนหน้าชัยเกษม นิติสิริ
ถัดไปสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
แม่ทัพภาคที่ 1
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 – 30 กันยายน พ.ศ. 2556
ก่อนหน้าพลโท อุดมเดช สีตบุตร
ถัดไปพลโท ธีรชัย นาควานิช
สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
11 กันยายน พ.ศ. 2557 – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ราชองค์รักษ์พิเศษ
ดำรงตำแหน่ง
29 กันยายน พ.ศ. 2558[2] – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด21 มิถุนายน พ.ศ. 2498 (68 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสพจนี คุ้มฉายา
ลายมือชื่อไฟล์:ลายมือชื่อ ไพบูลย์ คุ้มฉายา.png
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
สังกัดกองทัพบกไทย
ประจำการพ.ศ. 2522 - 2558
ยศ พลเอก

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2498) เป็นองคมนตรี[3] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม,รองประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตร พันธสัญญาที่เป็นธรรม[4], ประธานกรรมการศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ, หัวหน้าฝ่ายกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของ คสช.และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, แม่ทัพภาคที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และอดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์

ประวัติ

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา หรือที่สื่อมวลชนมักจะเรียกว่า บิ๊กต๊อก เกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ที่ตำบลบ้านดอน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรของนายลออกับ นางจันทร์ คุ้มฉายา มีน้องชายชื่อ นายทรงบท คุ้มฉายา ดำรงตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านดอน โดยครอบครัวสืบเชื้อสายไทยทรงดำหรือลาวโซ่งมาตั้งแต่อดีต[5]

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา สมรสกับ นางพจนี คุ้มฉายา โดยมีบุตรธิดารวม 6 คน คือ นางอิงฆ์พลัฏฐ์ อำไพวิทย์ (ปัจจุบันได้สมรสกับ นายพีรพล อำไพวิทย์) ธีระพงศ์ คุ้มฉายา ธีระวัฒน์ คุ้มฉายา ธีระศักดิ์ คุ้มฉายา สุดารัตน์ คุ้มฉายา และธวัลรัตน์ คุ้มฉายา[6]

ประวัติการทำงานในฐานะราชองครักษ์พิเศษ

  • ในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558- ปัจจุบัน[7]ได้รับแต่งตั้งเป็นราชองครักษ์พิเศษ

ข้อมูลเบื้องต้นและด้านล่าง เป็นการสร้างขึ้นโดยการเท็จและยังก่อให้เกิดผลเสียมากมายในหลายหน่วยงานทั้งในภาครัฐและเอกชน สร้างความเข้าใจผิดแก่ประชนซึ่งบุคลดังกล่าวที่ปรากฏอยู่ในรูปเป็นต้องหาที่ทางการต้องการตัวมากที่สุด จากความผิดในหลายข้อกล่าวหาและมีการเรียกรับผลประโยชน์จากการแอบอ้างสถาบันพระมหากษัตริย์ อีกทั้งยังกล่าวอ้างถึงตำแหน่งมากมายที่ได้รับซึ่งไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด

การศึกษา

พลเอกไพบูลย์จบการศึกษาระดับมัธยมจาก โรงเรียนอู่ทอง ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำอำเภอ และจบจาก โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 15 (ตท.15) และ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น 26 (จปร.26) รุ่นเดียวกับพลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, พลเอก ปรีชา จันทร์โอชา ปลัดกระทรวงกลาโหม

การเมือง

ไพบูลย์ คุ้มฉายา ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา[8] และเป็นหัวหน้าฝ่ายกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อีกหน้าที่หนึ่ง ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เขาแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจำนวน 4 รายได้แก่ นายจิตรนรา นวรัตน์ นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายพิศิษฐ์ วิริยสกุล นายสุนทร สุนทรธาราวงศ์[9] และแต่งตั้ง พลโท อภิชัย หงษ์ทอง ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม[10]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/284/4.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/267/1.PDF
  3. พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/061/1.PDF
  5. กรุงเทพธุรกิจ โฟกัส, นายพลไทดำ. "แกะรอยการเมือง" โดย ประชา บูรพาวิถี. กรุงเทพธุรกิจปีที่ 30 ฉบับที่ 10305: วันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559
  6. http://www.matichon.co.th/news/258036
  7. ราชกิจจานุเบกษาประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งราชองครักษ์พิเศษ, เล่ม 132 ตอนพิเศษ 267 ง 27 ตุลาคม 2558 หน้า 1-2
  8. พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน 32 ราย)
  9. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/347/16.PDF
  10. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/124/10.PDF
  11. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นกรณีพิเศษ (พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา)
  12. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยประจำปี พ.ศ. 2555


ก่อนหน้า ไพบูลย์ คุ้มฉายา ถัดไป
ชัยเกษม นิติสิริ ไฟล์:ตรากระทรวงยุติธรรม1.png
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (ครม. 61)
(30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
วิษณุ เครืองาม
(รักษาการ)