ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวทมิฬ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
| langs = [[ภาษาทมิฬ|ทมิฬ]]
| langs = [[ภาษาทมิฬ|ทมิฬ]]
| religions = ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาฮินดู]]<br>ส่วนน้อยนับถือ[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]{{·}}[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]]{{·}}[[ศาสนาพุทธ|พุทธ]]{{·}}[[ศาสนาเชน|เชน]]
| religions = ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาฮินดู]]<br>ส่วนน้อยนับถือ[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]{{·}}[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]]{{·}}[[ศาสนาพุทธ|พุทธ]]{{·}}[[ศาสนาเชน|เชน]]
| related = [[ตระกูลภาษาดราวิเดียน|ดราวิเดียน]]อื่น ๆ{{·}}[[ชาวสิงหล|สิงหล]]<ref name=GKK>{{Citation | author = Kshatriya, G.K. | year = 1995 | title = Genetic affinities of Sri Lankan populations | journal = Human Biology | volume = 67 | issue = 6 | pages = 843–66 |pmid=8543296 }}</ref>
| related = [[ทราวิฑะ|ดราวิเดียน]]อื่น ๆ{{·}}[[ชาวสิงหล|สิงหล]]<ref name=GKK>{{Citation | author = Kshatriya, G.K. | year = 1995 | title = Genetic affinities of Sri Lankan populations | journal = Human Biology | volume = 67 | issue = 6 | pages = 843–66 |pmid=8543296 }}</ref>
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:07, 7 ตุลาคม 2561

ชาวทมิฬ
தமிழர்
หญิงทมิฬสวมชุดส่าหรีพื้นเมือง
ประชากรทั้งหมด
ประมาณ 76 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 อินเดีย76,993,814 (2016)[1]
 ศรีลังกา3,135,770 (2012)[2]
 มาเลเซีย1,800,000 [3]
 สิงคโปร์188,591 (2010) [4]
อื่น ๆดูที่ชาวทมิฬโพ้นทะเล
ภาษา
ทมิฬ
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู
ส่วนน้อยนับถืออิสลาม · คริสต์ · พุทธ · เชน
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ดราวิเดียนอื่น ๆ · สิงหล[5]

ชาวทมิฬ (ทมิฬ: தமிழர்) เป็นชาติพันธุ์ที่จัดอยู่ในกลุ่มทราวิฑะหรือดราวิเดียนซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิมของอนุทวีปอินเดีย ใช้ภาษาทมิฬเป็นภาษาแม่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในรัฐทมิฬนาฑูและปูดูเชร์รีของประเทศอินเดีย และอาศัยอยู่ในจังหวัดเหนือ จังหวัดตะวันออก และอำเภอปุตตลัม[6]ของประเทศศรีลังกา[7] ประมาณการว่ามีชาวทมิฬราว 76 ล้านคนทั่วโลก ถือเป็นชาติพันธุ์ที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ชาติหนึ่งที่คงดำรงอยู่จนถึงยุคปัจจุบัน[8] มีชาวทมิฬอาศัยในประเทศอินเดียคิดเป็นร้อยละ 5.9 ในประเทศรีลังการ้อยละ 24.9 ในประเทศมอริเชียสร้อยละ 10.8% ในประเทศมาเลเซียร้อยละ 7 และในประเทศสิงคโปร์ร้อยละ 5 ของประชากรทั้งหมดในประเทศ

อ้างอิง

  1. "Scheduled Languages in descending order of speaker's strength - 2001". Registrar General and Census Commissioner of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Census of Population and Housing of Sri Lanka, 2012 - Table A3: Population by district, ethnic group and sex" (PDF). Department of Census and Statistics, Sri Lanka.
  3. ethnologue.com
  4. "Basic Demographic Characteristics: Table 6 Indian Resident Population by Age Group, Dialect Group and Sex". Census of Population 2010 Statistical Release 1: Demographic Characteristics, Education, Language and Religion. Department of Statistics, Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 กันยายน 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. Kshatriya, G.K. (1995), "Genetic affinities of Sri Lankan populations", Human Biology, 67 (6): 843–66, PMID 8543296
  6. Manual of the Puttalam District of the North-Western Province of Ceylon (1908), Frank Modder, p. 55.
  7. Minahan, James (2012). Ethnic Groups of South Asia and the Pacific: An Encyclopedia. ABC-CLIO. ISBN 978-1-59884-659-1.
  8. N. Subrahmanian (1996). The Tamils: Their History, Culture, and Civilization. Vol. 36. Institute of Asian studies. pp. 150–58.