ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามตองอู–อยุธยา (ค.ศ. 1662–1664)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox military conflict
{{Infobox military conflict
||conflict=สงครามพม่า-สยาม (1662-1664)
||conflict=สงครามพม่า-สยาม (1662-1664)
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
{{มีอักษรพม่า}}
{{มีอักษรพม่า}}


'''สงครามพม่า-สยาม (1662-1664)''' ({{lang-my|ယိုးဒယား-မြန်မာစစ် (၁၆၆၂-၁၆၆၄)}}; {{lang-en|Burmese-Siamese War (1662-1664}}) สงครามการต่อสู้ระหว่าง [[ราชวงศ์ตองอู]] ของพม่าและ [[อาณาจักรอยุธยา]] ของสยาม
'''สงครามพม่า-สยาม (1662-1664)''' ({{lang-my|ယိုးဒယား-မြန်မာစစ် (၁၆၆၂-၁၆၆၄)}}; {{lang-en|Burmese-Siamese War (1662-1664}}) สงครามการต่อสู้ระหว่าง [[ราชวงศ์ตองอู]] ของพม่า และ [[อาณาจักรอยุธยา]] ของสยาม


== เบื้องหลัง ==
== เบื้องหลัง ==
{{บทความหลัก|การพิชิตหมิงของชิง}}
{{บทความหลัก|การพิชิตหมิงของชิง}}


ใน ค.ศ. 1644 กองทัพ [[แมนจู]] ชนเผ่าจากนอก [[กำแพงเมืองจีน]] บุกเข้า [[ปักกิ่ง]] ราชธานีของ [[ราชวงศ์หมิง]] เป็นจุดสิ้นสุดของราชวงศ์หมิงและจุดเริ่มต้นของ [[ราชวงศ์ชิง]]<ref>{{cite book |first=John |last=Keay |title=China: A History |publisher=Harper |year=2008 |page=410}}</ref> อีก 2 ปีต่อมาราชวงศ์ชิงก็สามารถควบคุมภาคเหนือของจีนได้ทั้งหมด [[จูโหย่วหลาง]] จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่ง [[หมิงใต้]] และผู้ที่ยังภักดีต่อราชวงศ์หมิงที่เหลืออยู่รวมตัวกันอีกครั้งที่ทางใต้ปลายเดือนมกราคม ค.ศ. 1659 กองทัพชิงบุกเข้าเมืองหลวงของ [[ยูนนาน]] เพื่อให้ส่งตัวองค์จักรพรรดิ ส่งผลให้จักรพรรดิหย่งลี่ (จูโหย่วหลาง) หนีเข้าไปใกล้ [[พม่า]] ซึ่งขณะนั้นปกครองโดย [[พระเจ้าปีนดะเล]] แห่ง [[ราชวงศ์ตองอู]]<ref name="Dennerline 117">{{harvnb|Dennerline|2002|p=117}}.</ref>
ใน ค.ศ. 1644 กองทัพ[[แมนจู]]ชนเผ่าจากนอก[[กำแพงเมืองจีน]] บุกเข้า[[ปักกิ่ง]] ราชธานีของ[[ราชวงศ์หมิง]] เป็นจุดสิ้นสุดของราชวงศ์หมิงและจุดเริ่มต้นของ[[ราชวงศ์ชิง]]<ref>{{cite book |first=John |last=Keay |title=China: A History |publisher=Harper |year=2008 |page=410}}</ref> อีก 2 ปีต่อมาราชวงศ์ชิงก็สามารถควบคุมภาคเหนือของจีนได้ทั้งหมด [[จูโหย่วหลาง]] จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่ง[[หมิงใต้]] และผู้ที่ยังภักดีต่อราชวงศ์หมิงที่เหลืออยู่รวมตัวกันอีกครั้งที่ทางใต้ ปลายเดือนมกราคม ค.ศ. 1659 กองทัพชิงบุกเข้าเมืองหลวงของ[[ยูนนาน]]เพื่อให้ส่งตัวองค์จักรพรรดิ ส่งผลให้จักรพรรดิหย่งลี่ (จูโหย่วหลาง) หนีเข้าไปใกล้[[พม่า]] ซึ่งขณะนั้นปกครองโดย [[พระเจ้าปีนดะเล]] แห่ง [[ราชวงศ์ตองอู]]<ref name="Dennerline 117">{{harvnb|Dennerline|2002|p=117}}.</ref>


== การรุกรานครั้งที่ 1 ==
== การรุกรานครั้งที่ 1 ==
ใน ค.ศ. 1661 พระเจ้าปีนดะเลถูกล้มล้างโดยพระอนุชาของพระองค์ เจ้าชายแห่งปเย ซึ่งได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็น [[พระเจ้าปเย]]
ใน ค.ศ. 1661 พระเจ้าปีนดะเลถูกล้มล้างโดยเจ้าชายแห่งปเยพระอนุชาของพระองค์ ซึ่งได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น [[พระเจ้าปเย]]


ความกลัวในอิทธิพลที่อ่อนตัวลงที่อาจเป็นไปได้ในรัฐอารักขาทางตอนเหนือภายหลังจากความสำเร็จในการรุกราน [[ราชวงศ์หมิง]] ของ [[อาณาจักรอังวะ|อังวะ]] ใน ค.ศ. 1660 เพื่อจับจูโหย่วหลาง [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] เคลื่อนทัพขยายอาณาเขตไปยัง [[ล้านนา]] ภายใต้การปกครองโดยตรงของ [[อาณาจักรอยุธยา]] การขยายอาณาเขตประสบความสำเร็จในการปกครอง [[ลำปาง]] และเมืองเล็กอื่น ๆ ใน มีนาคม ค.ศ. 1662 พระองค์ได้ [[เมาะตะมะ]] ที่เปลี่ยนข้าง และยึดอ่าวตะนาวศรีตอนเหนือ ความโชคดีสำหรับพม่าเมื่อความวุ่นวายกับหมิงจบสิ้นลง กองทัพบกและกองทัพเรือสามารถยึดคืนเมาะตะมะและ [[ทวาย]] ใน ธันวาคม ค.ศ. 1662 รวมถึงติดตามการล่าถอยของสยามแต่ถูกขับไล่ใกล้ [[กาญจนบุรี]] พร้อมกับการสูญเสียอย่างหนัก
อิทธิพลของรัฐอารักขาทางตอนเหนืออ่อนแอลง หลัง[[ราชวงศ์หมิง]]เข้ารุกราน[[อาณาจักรอังวะ|อังวะ]] ใน ค.ศ. 1660 เพื่อตามจับจูโหย่วหลาง [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] เคลื่อนทัพขยายอาณาเขตไปยัง[[ล้านนา]] ภายใต้การปกครองโดยตรงของ[[อาณาจักรอยุธยา]] การขยายอาณาเขตประสบความสำเร็จในการควบคุม[[ลำปาง]] และเมืองเล็กอื่น ๆ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1662 พระองค์ได้[[เมาะตะมะ]]ซึ่งเปลี่ยนฝ่ายและได้ครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีตอนบน เป็นความโชคดีของพม่าเมื่อความวุ่นวายกับหมิงจบสิ้นลง กองทัพบกและกองทัพเรือสามารถยึดคืนเมาะตะมะและ[[ทวาย]]ได้ในธันวาคม ค.ศ. 1662 รวมถึงติดตามการล่าถอยของสยามแต่ถูกขับไล่ใกล้[[กาญจนบุรี]] พร้อมกับการสูญเสียอย่างหนัก<ref name=app-139>Phayre 1967: 139</ref><ref name=geh-198>Harvey 1925: 198</ref>


== การรุกรานครั้งที่ 2 ==
== การรุกรานครั้งที่ 2 ==
ในการขยายอาณาเขตครั้งที่ 2 ได้พยายามที่จะเข้ามายัง [[ล้านนา]] ภายใต้การปกครองอีกครั้ง กองทัพสยามรุกราน [[เชียงใหม่]] จากพม่าโดยสมบูรณ์แบบ สยามเข้ายึดครองเชียงใหม่เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1663 และสามารถขับไล่กองทัพพม่าที่มาถึงอย่างเคร่งเครียดที่ [[ไทรโยค]]
ในการขยายอาณาเขตครั้งที่ 2 สยามได้พยายามที่จะให้ล้านนาอยู่ภายใต้การควบคุมอีกครั้ง กองทัพสยามรุกราน[[เชียงใหม่]] และจับกุมผู้บัญชาการทหารพม่าไม่ให้หลบหนี สยามเข้ายึดครองเชียงใหม่เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1663 และขับไล่กองทัพพม่าที่ยกมาถึง[[ไทรโยค]] ในพฤศจิกายน 1663 ที่สยามนำทัพ 60,000 นาย เข้ารุกรานพม่าหมายตั้งใจจะยึดครองเมาะตะมะ, [[มะละแหม่ง]], [[สิเรียม]], [[ย่างกุ้ง]], [[พะโค|หงสาวดี]] และจากนั้นจะเข้าล้อม[[พุกาม]] ใน ค.ศ. 1664 พม่าได้เข้าต่อต้านสู้รบกับสยามหลายครั้งจนสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1664 ก่อนถึงช่วงฤดูฝน มีผู้เสียเสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก บางส่วนถูกจับเป็นเชลย สยามได้ถอยทัพกลับไป<ref name=Damrong>Rajanubhab, D., 2001, Our Wars With the Burmese, Bangkok: White Lotus Co. Ltd., {{ISBN|9747534584}}</ref>{{rp|220–239}}

กองทัพสยามบางส่วนถูกรักษาการณ์อยู่ที่เชียงใหม่ซึ่งกลายเมืองร้างเพื่อเฝ้าระวังกองกำลังต่อต้าน ต่อมากองทัพเหล่านั้นได้ออกจากเมือง ปลายเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1664 ชาวบ้านที่อพยพออกจากเชียงใหม่จึงเริ่มกลับมา<ref name=hy-3-277>Hmannan Vol. 3 2003: 277</ref>


== ผลพวง ==
== ผลพวง ==
สงครามครั้งนี่เป็นสงครามครั้งสำคัญและครั้งสุดท้ายระหว่างอาณาจักรทั้งสองจนถึง ค.ศ. 1760 อย่างไรก็ตามมีการโจมตีและปล้นเล็ก ๆ ไปมาของคาราวานค้าขาย ในช่วงปี ค.ศ. 1675-1676 และในช่วงปี ค.ศ. 1700-1701


== ดูเพิ่ม ==


== หมายเหตุ ==



== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
;บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite book | author=[[Royal Historical Commission of Burma]] | title=Hmannan Yazawin | volume=3 | year=1832 | location=Yangon | language=Burmese | edition=2003 | publisher=Ministry of Information, Myanmar}}
* {{cite book | last=Phayre | first=Lt. Gen. Sir Arthur P. | title=History of Burma | year=1883 | edition=1967 | publisher=Susil Gupta | location=London}}
* {{cite book|title=Our Wars With the Burmese|location=Bangkok,Thailand|publisher=White Lotus|year=2001|isbn=9747534584|last=Rajanubhab|first=Damrong|ref=harv}}
* {{cite book | last=Harvey | first=G. E.| title=History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824 | publisher=Frank Cass & Co. Ltd | year=1925 | location=London}}
{{จบอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับไทย]]
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:26, 20 กันยายน 2561

สงครามพม่า-สยาม (1662-1664)
ส่วนหนึ่งของ สงครามพม่า-สยาม
วันที่ประมาณ ค.ศ. 1662 - 1664
สถานที่
ผล พม่าปกป้องเป็นผลสำเร็จ
พม่าสามารถป้องกันพม่าตอนบน
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
สยามสามารถยึดครองล้านนา และพม่าตอนล่างได้ชั่วคราว
คู่สงคราม
ราชวงศ์ตองอู อาณาจักรอยุธยา
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
พระเจ้าปเย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

กองทัพอาณาจักรพม่า
กองทัพเรือหลวง รวมทั้ง:

กองทัพล้านนา

กองทัพหลวงสยาม รวมทั้ง:

ทหารอาสาชาวมอญ
กำลัง
ไม่ทราบ 90,000

สงครามพม่า-สยาม (1662-1664) (พม่า: ယိုးဒယား-မြန်မာစစ် (၁၆၆၂-၁၆၆၄); อังกฤษ: Burmese-Siamese War (1662-1664) สงครามการต่อสู้ระหว่าง ราชวงศ์ตองอู ของพม่า และ อาณาจักรอยุธยา ของสยาม

เบื้องหลัง

ใน ค.ศ. 1644 กองทัพแมนจูชนเผ่าจากนอกกำแพงเมืองจีน บุกเข้าปักกิ่ง ราชธานีของราชวงศ์หมิง เป็นจุดสิ้นสุดของราชวงศ์หมิงและจุดเริ่มต้นของราชวงศ์ชิง[1] อีก 2 ปีต่อมาราชวงศ์ชิงก็สามารถควบคุมภาคเหนือของจีนได้ทั้งหมด จูโหย่วหลาง จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งหมิงใต้ และผู้ที่ยังภักดีต่อราชวงศ์หมิงที่เหลืออยู่รวมตัวกันอีกครั้งที่ทางใต้ ปลายเดือนมกราคม ค.ศ. 1659 กองทัพชิงบุกเข้าเมืองหลวงของยูนนานเพื่อให้ส่งตัวองค์จักรพรรดิ ส่งผลให้จักรพรรดิหย่งลี่ (จูโหย่วหลาง) หนีเข้าไปใกล้พม่า ซึ่งขณะนั้นปกครองโดย พระเจ้าปีนดะเล แห่ง ราชวงศ์ตองอู[2]

การรุกรานครั้งที่ 1

ใน ค.ศ. 1661 พระเจ้าปีนดะเลถูกล้มล้างโดยเจ้าชายแห่งปเยพระอนุชาของพระองค์ ซึ่งได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น พระเจ้าปเย

อิทธิพลของรัฐอารักขาทางตอนเหนืออ่อนแอลง หลังราชวงศ์หมิงเข้ารุกรานอังวะ ใน ค.ศ. 1660 เพื่อตามจับจูโหย่วหลาง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เคลื่อนทัพขยายอาณาเขตไปยังล้านนา ภายใต้การปกครองโดยตรงของอาณาจักรอยุธยา การขยายอาณาเขตประสบความสำเร็จในการควบคุมลำปาง และเมืองเล็กอื่น ๆ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1662 พระองค์ได้เมาะตะมะซึ่งเปลี่ยนฝ่ายและได้ครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีตอนบน เป็นความโชคดีของพม่าเมื่อความวุ่นวายกับหมิงจบสิ้นลง กองทัพบกและกองทัพเรือสามารถยึดคืนเมาะตะมะและทวายได้ในธันวาคม ค.ศ. 1662 รวมถึงติดตามการล่าถอยของสยามแต่ถูกขับไล่ใกล้กาญจนบุรี พร้อมกับการสูญเสียอย่างหนัก[3][4]

การรุกรานครั้งที่ 2

ในการขยายอาณาเขตครั้งที่ 2 สยามได้พยายามที่จะให้ล้านนาอยู่ภายใต้การควบคุมอีกครั้ง กองทัพสยามรุกรานเชียงใหม่ และจับกุมผู้บัญชาการทหารพม่าไม่ให้หลบหนี สยามเข้ายึดครองเชียงใหม่เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1663 และขับไล่กองทัพพม่าที่ยกมาถึงไทรโยค ในพฤศจิกายน 1663 ที่สยามนำทัพ 60,000 นาย เข้ารุกรานพม่าหมายตั้งใจจะยึดครองเมาะตะมะ, มะละแหม่ง, สิเรียม, ย่างกุ้ง, หงสาวดี และจากนั้นจะเข้าล้อมพุกาม ใน ค.ศ. 1664 พม่าได้เข้าต่อต้านสู้รบกับสยามหลายครั้งจนสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1664 ก่อนถึงช่วงฤดูฝน มีผู้เสียเสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก บางส่วนถูกจับเป็นเชลย สยามได้ถอยทัพกลับไป[5]: 220–239 

กองทัพสยามบางส่วนถูกรักษาการณ์อยู่ที่เชียงใหม่ซึ่งกลายเมืองร้างเพื่อเฝ้าระวังกองกำลังต่อต้าน ต่อมากองทัพเหล่านั้นได้ออกจากเมือง ปลายเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1664 ชาวบ้านที่อพยพออกจากเชียงใหม่จึงเริ่มกลับมา[6]

ผลพวง

สงครามครั้งนี่เป็นสงครามครั้งสำคัญและครั้งสุดท้ายระหว่างอาณาจักรทั้งสองจนถึง ค.ศ. 1760 อย่างไรก็ตามมีการโจมตีและปล้นเล็ก ๆ ไปมาของคาราวานค้าขาย ในช่วงปี ค.ศ. 1675-1676 และในช่วงปี ค.ศ. 1700-1701

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Keay, John (2008). China: A History. Harper. p. 410.
  2. Dennerline 2002, p. 117.
  3. Phayre 1967: 139
  4. Harvey 1925: 198
  5. Rajanubhab, D., 2001, Our Wars With the Burmese, Bangkok: White Lotus Co. Ltd., ISBN 9747534584
  6. Hmannan Vol. 3 2003: 277
บรรณานุกรม
  • Royal Historical Commission of Burma (1832). Hmannan Yazawin (ภาษาBurmese). Vol. 3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Rajanubhab, Damrong (2001). Our Wars With the Burmese. Bangkok,Thailand: White Lotus. ISBN 9747534584. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.