ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–เยอรมนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F009754-0005, Petersberg, Staatsempfang für König von Thailand.jpg|thumb|right|200px|[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์]]และประธานาธิบดี [[ไฮน์ริช ลุบเก]] ระหว่างการเสด็จเยือนประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2503]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F009754-0005, Petersberg, Staatsempfang für König von Thailand.jpg|thumb|right|200px|[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์]]และประธานาธิบดี[[ไฮน์ริช ลึพเคอ]] ระหว่างการเสด็จเยือนประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2503]]


'''ความสัมพันธ์เยอรมนี-ไทย''' เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง[[ประเทศเยอรมนี]]กับ[[ประเทศไทย]] ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="ทูต">[http://www.mfa.go.th/internet/country/105d.doc เอกสารแนบ - Ministry of Foreign Affairs]</ref> ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 รวมทั้งโอรสหลายพระองค์ต่างทรงรับการศึกษาที่ประเทศเยอรมนี ดังเช่น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร]] ผู้สำเร็จราชการในสมัยนั้น ที่ทรงอภิเษกสมรสกับสตรีชาวเยอรมัน<ref name="เยอรมนี">[http://www.bangkok.diplo.de/Vertretung/bangkok/th/06/Ausstellung/150Jahre.html 150 ปีความสัมพันธ์เยอรมัน-ไทย]</ref>
'''ความสัมพันธ์เยอรมนี-ไทย''' เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง[[ประเทศเยอรมนี]]กับ[[ประเทศไทย]] ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="ทูต">[http://www.mfa.go.th/internet/country/105d.doc เอกสารแนบ - Ministry of Foreign Affairs]</ref> ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 รวมทั้งโอรสหลายพระองค์ต่างทรงรับการศึกษาที่ประเทศเยอรมนี ดังเช่น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร]] ผู้สำเร็จราชการในสมัยนั้น ที่ทรงอภิเษกสมรสกับสตรีชาวเยอรมัน<ref name="เยอรมนี">[http://www.bangkok.diplo.de/Vertretung/bangkok/th/06/Ausstellung/150Jahre.html 150 ปีความสัมพันธ์เยอรมัน-ไทย]</ref>
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้เอง ที่มีชาวต่างชาติรวมถึงชาวเยอรมันที่เดินทางมายังประเทศสยามเพื่อนำความรู้มาพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ทั้งทางรถไฟ การไปรษณีย์โทรเลขต่างได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมัน รวมถึง[[พระเจนดุริยางค์]] หรือชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ เป็นบุตรของชาวเยอรมันที่อพยพมาอาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นผู้ประพันธ์ทำนอง[[เพลงชาติไทย]]<ref name="เยอรมนี" />
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้เอง ที่มีชาวต่างชาติรวมถึงชาวเยอรมันที่เดินทางมายังประเทศสยามเพื่อนำความรู้มาพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ทั้งทางรถไฟ การไปรษณีย์โทรเลขต่างได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมัน รวมถึง[[พระเจนดุริยางค์]] หรือชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ เป็นบุตรของชาวเยอรมันที่อพยพมาอาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นผู้ประพันธ์ทำนอง[[เพลงชาติไทย]]<ref name="เยอรมนี" />


ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศนี้ยังคงมีมาโดยตลอด โครงการที่รัฐบาลเยอรมันให้ความสำคัญ คือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ดังเช่น การวิจัยการสืบพันธุ์ของ[[ช้างเอเชีย]] โดยมีการขอยืมช้างไทยไปวิจัยศึกษาที่สวนสัตว์ใน[[โคโลญ]] อันเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทาง[[วิชาการ]]และ[[วิทยาศาสตร์]] ของระหว่างสองประเทศ<ref>[http://www.changdee.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=394553 ความสัมพันธ์ไทย-เยอรมัน Thai relationship]</ref>
ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศนี้ยังคงมีมาโดยตลอด โครงการที่รัฐบาลเยอรมันให้ความสำคัญ คือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ดังเช่น การวิจัยการสืบพันธุ์ของ[[ช้างเอเชีย]] โดยมีการขอยืมช้างไทยไปวิจัยศึกษาที่สวนสัตว์ใน[[โคโลญ]] อันเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทาง[[วิชาการ]]และ[[วิทยาศาสตร์]]ระหว่างสองประเทศ<ref>[http://www.changdee.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=394553 ความสัมพันธ์ไทย-เยอรมัน Thai relationship]</ref>


== ความสัมพันธ์ทางการทูต ==
== ความสัมพันธ์ทางการทูต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:15, 19 กันยายน 2561

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์และประธานาธิบดีไฮน์ริช ลึพเคอ ระหว่างการเสด็จเยือนประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2503

ความสัมพันธ์เยอรมนี-ไทย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเยอรมนีกับประเทศไทย ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[1] ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 รวมทั้งโอรสหลายพระองค์ต่างทรงรับการศึกษาที่ประเทศเยอรมนี ดังเช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้สำเร็จราชการในสมัยนั้น ที่ทรงอภิเษกสมรสกับสตรีชาวเยอรมัน[2]

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้เอง ที่มีชาวต่างชาติรวมถึงชาวเยอรมันที่เดินทางมายังประเทศสยามเพื่อนำความรู้มาพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ทั้งทางรถไฟ การไปรษณีย์โทรเลขต่างได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมัน รวมถึงพระเจนดุริยางค์ หรือชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ เป็นบุตรของชาวเยอรมันที่อพยพมาอาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นผู้ประพันธ์ทำนองเพลงชาติไทย[2]

ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศนี้ยังคงมีมาโดยตลอด โครงการที่รัฐบาลเยอรมันให้ความสำคัญ คือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ดังเช่น การวิจัยการสืบพันธุ์ของช้างเอเชีย โดยมีการขอยืมช้างไทยไปวิจัยศึกษาที่สวนสัตว์ในโคโลญ อันเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการและวิทยาศาสตร์ระหว่างสองประเทศ[3]

ความสัมพันธ์ทางการทูต

ในสมัยที่เยอรมนียังคงแยกเป็นรัฐเสรีหลายรัฐ ได้มีรัฐสำคัญอย่างปรัสเซียที่จัดตั้งจัดตั้งคณะทูตสันถวไมตรีแห่งปรัสเซียมายังสยาม โดยมีหัวหน้าคณะทูตคือ เคานท์ ซู ออยเลนบวร์ก พร้อมคณะ ซึ่งประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์กับชาวเยอรมันผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ โดยเดินทางมาถึงสยาม ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2405 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การเจรจาการค้าพระราชไมตรี ด้านการค้าและการเดินเรือระหว่างสองประเทศเริ่มขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2406 โดยมีเจ้าฟ้ากรมหลวงวงศาธิราชสนิท เป็นหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทย ซึ่งทางปรัสเซียไม่มีนโยบายล่าอาณานิคมในแถบเอเชียอาคเนย์ การเจรจาเสร็จสิ้นและลงนามสัญญา ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2406 โดยสัญญาระบุถึงการปฏิบัติไมตรีต่อกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2422 ได้มีการตั้งสถานทูตไทย ณ กรุงเบอร์ลิน และ พ.ศ. 2431 ได้มีการเลื่อนระดับสถานกงสุลเยอรมนีขึ้นเป็นสถานอัครราชทูตเยอรมนี ณ กรุงเทพฯ[1]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น