ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัชระ กรรณิการ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
นายวัชระ กรรณิการ์ เริ่มสนใจในการเมืองโดยการสมัครเข้าเป็นสมาชิก[[พรรคชาติไทย]] และได้ทำหน้าที่โฆษก[[พรรคชาติไทยพัฒนา]] ภายหลัง[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551|การยุบพรรคชาติไทย ในปี พ.ศ. 2551]]
นายวัชระ กรรณิการ์ เริ่มสนใจในการเมืองโดยการสมัครเข้าเป็นสมาชิก[[พรรคชาติไทย]] และได้ทำหน้าที่โฆษก[[พรรคชาติไทยพัฒนา]] ภายหลัง[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551|การยุบพรรคชาติไทย ในปี พ.ศ. 2551]]


กระทั่งวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 นายวัชระได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนาต่อนายทะเบียนสมาชิกพรรคทำให้ต้องพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคและโฆษกพรรคเพื่อไปสมัครสมาชิก [[พรรคพลังประชารัฐ]] <ref> [http://www.naewna.com/politic/365046 'วัชระ'แถลงหมดสัญญาใจ'ชาติไทยพัฒนา] </ref>
กระทั่งวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 นายวัชระได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนาต่อนายทะเบียนสมาชิกพรรคทำให้ต้องพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคและโฆษกพรรคเพื่อสมัครเป็นสมาชิก [[พรรคพลังประชารัฐ]] <ref> [http://www.naewna.com/politic/365046 'วัชระ'แถลงหมดสัญญาใจ'ชาติไทยพัฒนา'จ่อซบ'พลังประชารัฐ'] </ref>


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:44, 19 กันยายน 2561

นายวัชระ กรรณิการ์
ไฟล์:วัชระ กรรณิการ์.JPG
รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
24 มีนาคม พ.ศ. 2552 – 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554
นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองชาติไทยพัฒนา

นายวัชระ กรรณิการ์ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (แทนตำแหน่งของนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์)[1] โฆษกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ฝ่ายการเมือง) และอดีตโฆษกพรรคชาติไทยพัฒนา ซึ่งนายวัชระ เป็นผู้หนึ่งที่ถูกกล่าวขานในเรื่องการสวดพระคาถาชินบัญชรอย่างสม่ำเสมอ[2]

การทำงาน

นายวัชระ กรรณิการ์ เคยเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์หลายรายการ เช่น รายการแขกรับเชิญ ทางสถานีโทรทัศน์ NBT รายการเจตนาดี ทางสถานีโทรทัศน์ช่องทรูวิชั่นส์ 28 และรายการวัชระโชว์ ทางช่องนิวส์ไลน์ และยังมีใบหน้าละหม้ายกับนายไตรภพ ลิมปพัทธ์ พิธีกรชื่อดังอีกด้วย[3]

นายวัชระ กรรณิการ์ เริ่มสนใจในการเมืองโดยการสมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคชาติไทย และได้ทำหน้าที่โฆษกพรรคชาติไทยพัฒนา ภายหลังการยุบพรรคชาติไทย ในปี พ.ศ. 2551

กระทั่งวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 นายวัชระได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนาต่อนายทะเบียนสมาชิกพรรคทำให้ต้องพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคและโฆษกพรรคเพื่อสมัครเป็นสมาชิก พรรคพลังประชารัฐ [4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • พ.ศ. 2553 - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)[5]

อ้างอิง