ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตี (พิธีกรรม)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
'''พิธีสตี''' หมายถึงประเพณีการทำศพของชาวฮินดู พบในประเทศอินเดีย พิธีนี้เป็นการบูชายัญตนเองของหญิงหม้ายในพิธีศพของสามี บางครั้งเต็มใจ แต่บางครั้งก็ถูกคนอื่นบังคับ หญิงหม้ายที่ทำพิธีนี้จะถูกยกย่องให้เป็นมหาเทวีสตีมาตา และเรียกพื้นที่ที่ประกอบพิธีว่า สตีสถล (สตีสะถะละ) แล้วสร้างโบสถ์หรือวัดเพื่อให้ประชาชนกราบไหว้บูชาต่อไป คำว่า '''“สตี”''' เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า “ภรรยาผู้ซื่อสัตย์” การเป็นสตรีผู้ทรงคุณความดีนั้นต้องซื่อสัตย์ต่อสามีอย่
{{multiple image | header = {{resize|120%|เทวรูปศาลอุทิศแด่สตรีในพิธีโจฮา}} | width = 140 | perrow = 2 | caption_align = center | image1 = Jodhpur_Sati.jpg| caption1 = ศาลอุทิศแด่สตรีในราชสำนัก เมืองจัยปูร์ รัฐราชสถาน. | image2 = Sati_Stone,_memorials_to_Indian_widows_found_all_over_India,_18th_century_CE,_currently_housed_in_the_British_Museum.jpg| caption2 = ศิลาจารึกอุทิศแด่สตรีในพ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{multiple image
| header = {{resize|120%|[[ประติมากรรม|เทวรูป]][[ศาลพระภูมิ|ศาล]]อุทิศแด่[[ผู้หญิง|สตรี]]ใน[[พิธีโจฮา]]}}
| width = 140 | perrow = 2
| caption_align = center
| image1 = Jodhpur_Sati.jpg| caption1 = [[ศาลพระภูมิ|ศาล]]อุทิศแด่[[ผู้หญิง|สตรี]]ใน[[พระมหากษัตริย์|ราชสำนัก]] เมืองจัยปูร์ [[รัฐราชสถาน]].
| image2 = Sati_Stone,_memorials_to_Indian_widows_found_all_over_India,_18th_century_CE,_currently_housed_in_the_British_Museum.jpg| caption2 = [[ศิลาจารึก]]อุทิศแด่[[ผู้หญิง|สตรี]]ในพิธี[[พิธีโจฮา|สตี]] [[พิพิธภัณฑ์บริติช]].
| image3 = Satigal_(sati_stone)_in_Kedareshvara_temple_at_Balligavi.JPG| caption3 = [[ศิลาจารึก]]อุทิศแด่[[ผู้หญิง|สตรี]]ในพิธี[[พิธีโจฮา|สตี]] [[โบสถ์พราหมณ์|วัด]]เกปาวเนศวร[[รัฐกรณาฏกะ]].
| image4 = OrchhaSatiTemple.jpg| caption4 = [[ศาลพระภูมิ|ศาล]]อุทิศแด่[[ผู้หญิง|สตรี]]ใน[[พิธีโจฮา|สตี]] เมืองโอรชา [[รัฐมัธยประเทศ]].
| footer_align = right
| footer = {{navbar|Chota Char Dham}}
}}
'''พิธีสตี''' หมายถึงประเพณีการทำศพของชาว[[ฮินดู]] พบใน[[ประเทศอินเดีย]] พิธีนี้เป็นการบูชายัญตนเองของหญิงหม้ายในพิธีศพของสามี บางครั้งเต็มใจ แต่บางครั้งก็ถูกคนอื่นบังคับ หญิงหม้ายที่ทำพิธีนี้จะถูกยกย่องให้เป็น[[ราณีสตีเทวี|มหาเทวีสตีมาตา]] และเรียกพื้นที่ที่ประกอบพิธีว่า สตีสถล (สตีสะถะละ) แล้วสร้าง[[โบสถ์พราหมณ์|โบสถ์]]หรือ[[โบสถ์พราหมณ์|วัด]]เพื่อให้ประชาชนกราบไหว้บูชาต่อไป
'''พิธีสตี''' หมายถึงประเพณีการทำศพของชาว[[ฮินดู]] พบใน[[ประเทศอินเดีย]] พิธีนี้เป็นการบูชายัญตนเองของหญิงหม้ายในพิธีศพของสามี บางครั้งเต็มใจ แต่บางครั้งก็ถูกคนอื่นบังคับ หญิงหม้ายที่ทำพิธีนี้จะถูกยกย่องให้เป็น[[ราณีสตีเทวี|มหาเทวีสตีมาตา]] และเรียกพื้นที่ที่ประกอบพิธีว่า สตีสถล (สตีสะถะละ) แล้วสร้าง[[โบสถ์พราหมณ์|โบสถ์]]หรือ[[โบสถ์พราหมณ์|วัด]]เพื่อให้ประชาชนกราบไหว้บูชาต่อไป



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:40, 13 กันยายน 2561

ศิลาจารึกอุทิศแด่สตรีในพิธีสตี วัดเกปาวเนศวรรัฐกรณาฏกะ.
ศาลอุทิศแด่สตรีในสตี เมืองโอรชา รัฐมัธยประเทศ.

พิธีสตี หมายถึงประเพณีการทำศพของชาวฮินดู พบในประเทศอินเดีย พิธีนี้เป็นการบูชายัญตนเองของหญิงหม้ายในพิธีศพของสามี บางครั้งเต็มใจ แต่บางครั้งก็ถูกคนอื่นบังคับ หญิงหม้ายที่ทำพิธีนี้จะถูกยกย่องให้เป็นมหาเทวีสตีมาตา และเรียกพื้นที่ที่ประกอบพิธีว่า สตีสถล (สตีสะถะละ) แล้วสร้างโบสถ์หรือวัดเพื่อให้ประชาชนกราบไหว้บูชาต่อไป

คำว่า “สตี” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า “ภรรยาผู้ซื่อสัตย์” การเป็นสตรีผู้ทรงคุณความดีนั้นต้องซื่อสัตย์ต่อสามีอย่างสูง และต้องเมตตากรุณาต่อญาติพี่น้อง

พิธีการกระโดดเข้ากองไฟของหญิงหม้าย มีอยู่ 2 ลักษณะ ดังนี้

กลุ่มหญิงหม้ายที่มีฐานะต่ำต้อย หากสามีของหญิงหม้ายเสียชีวิต จะมีการจัดงานศพแบบกลางแจ้งนอกเมือง ซึ่งมีกองไฟกองใหญ่กองไว้ เมื่อศพของสามีกำลังถูกเผาอยู่นั้น ภรรยาก็จะกระโจนเข้าไปในกองไฟและถูกเผาตายตามไปด้วยเช่นกัน

กลุ่มหญิงที่มีฐานะร่ำรวย หากสามีของหญิงหม้ายที่มีฐานะ และมีทรัพย์สินมากเสียชีวิต ภรรยาของเขาจะจัดงานศพให้สามีเป็นอย่างดี มีการขุดหลุมลึกเท่าความสูงของสามี นำศพไปวาง ใส่เครื่องหอมลงไปและจุดไฟเผาภายในหลุมนั้น ส่วนหญิงหม้ายก็จะจัดงานรื่นเริง ร่วมงานกันอย่างสนุกสนาน โดยผู้ที่มาร่วมงานก็จะปลอบโยนเธอ หญิงหม้ายจะแจกทรัพย์สินเงินทองให้กับญาติพี่น้องและคนที่มาร่วมงาน จากนั้นก็จะนำหญิงหม้ายขึ้นนั่งบนหลังม้า(ต้องเป็นสีเทาหรือขาวเท่านั้น) และเดินไปยังหลุมที่เผาสามี ระหว่างทางก็จะปลอบโยนเธอตลอดทางจนถึงหลุมเผาศพ[1][2]

อ้างอิง

  1. วิสุทธ์ บุษยกุล. (ม.ป.ป.) วิสุทธนิพนธ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2
  2. สุนทร ณ รังสี. (2545). ปรัชญาอินเดียและลัทธิ.(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.