ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุประวัติ ปัทมสูต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 91: บรรทัด 91:
* [[พ.ศ. 2531]] : [[ทายาท]] [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[ทายาท]] [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[รัตนาวดี]] [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[รัตนาวดี]] [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : นายจ๋าเลขาขอโทษ [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[นายจ๋าเลขาขอโทษ]] [[ช่อง 3]]
* [[พ.ศ. 2531]] : ตัวประกอบอดทน [[ช่อง 9]]
* [[พ.ศ. 2531]] : ตัวประกอบอดทน [[ช่อง 9]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[มนต์รักแม่สื่อ]] [[ช่อง 5]]
* [[พ.ศ. 2531]] : [[มนต์รักแม่สื่อ]] [[ช่อง 5]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:11, 11 กันยายน 2561

สุประวัติ ปัทมสูต
ไฟล์:Suprawat.jpg
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (86 ปี)
สุประวัติ ปัทมสูต
คู่สมรสนีรนุช เมฆใหญ่
อาชีพนักแสดง ผู้กำกับ
ศิลปินแห่งชาติศิลปะการแสดง
พ.ศ. 2553 - ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ - ผู้กำกับ นักแสดง
โทรทัศน์ทองคำผู้กำกับละครดีเด่น
พ.ศ. 2534 - สี่แผ่นดิน
พ.ศ. 2548 - เรือนไม้สีเบจ
นักแสดงสมทบชายดีเด่น
พ.ศ. 2547 - แม่อายสะอื้น
เกียรติยศสำหรับบุคคลทรงคุณค่าและผู้กำกับละครดีเด่น
พ.ศ. 2551 - รังนกบนปลายไม้
เมขลาผู้กำกับการแสดงดีเด่น
พ.ศ. 2534 - สี่แผ่นดิน
ผู้แสดงประกอบชายดีเด่น
พ.ศ. 2547 - แม่อายสะอื้น

สุประวัติ ปัทมสูต ชื่อเล่น อี๊ด (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นนักแสดงและผู้กำกับลูกครึ่งไทย-โปรตุเกสเกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ขุนไมตรีสเน่หา และ นางทองใบ จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนพานิชยการเชตุพน ได้รับปริญญาคณะมนุษยศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง

ด้านชีวิตส่วนตัวเขาสมรสกับ ศรีสุดา สุกิจจวนิช มีบุตรทั้งสิ้น 4 คน คนแรกชื่อ ก้ามปู ปัทมสูต คนที่สอง กุ้งนาง ปัทมสูต (เสียชีวิตแล้ว)[1] และ ชัชเวทย์ สุกิจจวนิช และบุตรที่เกิดกับ นีรนุช เมฆใหญ่ น้องสาวของนันทวัน เมฆใหญ่ 1 คน คือ กษาปณ์ ปัทมสูต

ละครจากสถานีโทรทัศน์ช่อง ๙ บางลำพู บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด คนที่สองจากซ้าย สุประวัติ ปัทมสูตร คนที่สามจากซ้าย สมจินต์ ธรรมทัต ที่เหลือไม่ทราบชื่อ

ผลงาน

แสดงภาพยนตร์

ละครโทรทัศน์

กำกับภาพยนตร์

กำกับละครโทรทัศน์

รางวัล

  • พ.ศ. 2534 – รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาผู้กำกับละครดีเด่น จากละครเรื่อง สี่แผ่นดิน
  • พ.ศ. 2548 – รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาผู้กำกับละครดีเด่น จากละครเรื่อง เรือนไม้สีเบจ
  • พ.ศ. 2548 – รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่น จากละครเรื่อง แม่อายสะอื้น
  • พ.ศ. 2551 – รางวัลเกียรติยศสำหรับบุคคลทรงคุณค่าและผู้กำกับละครดีเด่น จากละครเรื่อง รังนกบนปลายไม้
  • พ.ศ. 2554 – ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี พ.ศ. 2553[2]
  • พ.ศ. 2555 – รางวัลนักแสดงอาวุโสศิลปินแห่งชาติ รับรางวัลพระราชทานบันเทิงเทิดธรรม ไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ด 2012
  • พ.ศ. 2558 – รางวัลบุคคลทรงคุณค่าวงการบันเทิง สาขาการแสดง จากงานสยามดารา สตาร์ส อวอร์ดส์ 2015

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง