ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซเว่น อีเลฟเว่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7685451 สร้างโดย 119.76.14.148 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
{{{{{
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
อนนย
{{ล้าสมัย}}
{{สากล}}
{{Infobox Company
| company_name = เซเว่น-อีเลฟเว่น
| company_logo = 7-eleven logo.svg|250px
| company_type = สาขา
| company_slogan =
| foundation= พ.ศ. 2470
|location_city = [[ดัลลัส]] [[รัฐเทกซัส]] [[สหรัฐ]]
|locations = 57,500
|key_people = Joseph DePinto, CEO
|industry = ร้านสะดวกซื้อ
|num_employees = 45,000 (2010 NA)
|parent = [[Seven & I Holdings Co.]]
|products = [[Slurpee|เครื่องดื่มสเลอร์ปี]]<br />Big Gulp beverage Cup<br>ผลิตภัณฑ์อื่น ได้แก่ กาแฟ แซนด์วิช อาหารสำเร็จรูป แกโซลีน ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดื่มต่าง ๆ และมันฝรั่งทอด
| homepage = [http://www.7-eleven.com/ 7-eleven.com]
}}
[[ไฟล์:7-Eleven in Siamsquare BKK.JPG|thumb|250px|ร้านสะดวกซื้อ เซเว่น-อีเลฟเว่น]]

'''เซเว่น-อีเลฟเว่น''' ({{lang-en|7-Eleven}}) เป็น[[แฟรนไชส์]]ของ[[ร้านสะดวกซื้อ]] จำหน่ายสินค้าเครื่องใช้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มีสาขาอยู่ทั่วโลก


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:41, 7 กันยายน 2561

อนนย

ประวัติ

เซเว่น-อีเลฟเว่น ถือกำเนิดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2470 โดย บริษัท เซาท์แลนด์ ไอซ์ จำกัด (เซาท์แลนด์ คอร์ปอเรชั่น) เริ่มต้นกิจการผลิต และจัดจำหน่ายน้ำแข็ง ที่เมืองดัลลัส รัฐเท็กซัส สหรัฐ ในปีเดียวกัน ทางบริษัทฯ ได้นำสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ มาจำหน่าย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า จึงเปลี่ยนชื่อเป็น Tote'm Store ต่อมาในปี พ.ศ. 2489 ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น เซเว่น-อีเลฟเว่น (7-Eleven) เพื่อรองรับการขยายกิจการนี้ ซึ่งในระยะแรก เปิดให้บริการ ตั้งแต่เวลา 07.00-23.00 น. หรือ 07:00 AM.-11:00 PM. ของทุกวัน อันเป็นที่มาของชื่อ เซเว่น อีเลฟเว่น นั่นเอง[1][2]

ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1980 บริษัทเริ่มประสบปัญหาทางการเงิน และได้รับความช่วยเหลือจากอิโต-โยคะโดซึ่งเป็นผู้ซื้อแฟรนไชส์รายใหญ่ที่สุด บริษัทญี่ปุ่นมีอำนาจควบคุมบริษัทในปี พ.ศ. 2534[3] ในปี พ.ศ. 2548 อิโต-โยคะโดก่อตั้งบริษัทเซเว่น แอนด์ ไอ โฮลดิงส์และเซเว่น-อีเลฟเว่นก็กลายเป็นบริษัทลูกของเซเว่น แอนด์ ไอ โฮลดิงส์ตั้งแต่นั้นมา

ประเทศไทย

บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) หรือ บมจ.ซีพี ออลล์ (ชื่อเดิม: บมจ.ซีพีเซเว่นอีเลฟเว่น) ในเครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นผู้บริหารแฟรนไชส์เซเว่น-อีเลฟเว่นในประเทศไทย จากการลงนามในสัญญา ซื้อสิทธิประกอบกิจการ จากเจ้าของสิทธิ์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 ปัจจุบันมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ 283 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

ปัจจุบันมีผู้บริหารระดับสูงคือ นายก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ เป็นประธานกรรมการบริหาร นายพิทยา เจียรวิสิฐกุล เป็นรองประธานกรรมการบริหาร นายปิยะวัฒน์ ฐิตะสัทธาวรกุล เป็นรองประธานกรรมการบริหาร นายธานินทร์ บูรณมานิต เป็นกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร [4] เซเว่นอีเลฟเว่น สาขาแรกในประเทศไทย คือสาขาถนนพัฒน์พงศ์ ตั้งอยู่บริเวณหัวมุมถนนพัฒน์พงศ์ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ซีพีออลล์ขยายสาขาเซเว่น-อีเลฟเว่น ไปยังสถานีบริการน้ำมัน ปตท.เกือบทุกแห่ง เพื่อให้ครอบคลุมทั่วประเทศไทย ทั้งในรูปแบบทั่วไป ระดับสูง และในสวน ปตท. (PTT Park) ส่งผลให้มีผู้ใช้บริการมากกว่า 4 ล้านคนต่อวัน และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 บริษัทฯ เปลี่ยนไปใช้ชื่อปัจจุบัน

ในปัจจุบัน เซเว่น-อีเลฟเว่นในประเทศไทย มีจำนวนประมาณ 10,000 สาขา (ณ เดือนมกราคม 2561)[ต้องการอ้างอิง] เฉพาะในกรุงเทพมหานครมีมากกว่า 500 สาขา รองลงมาคือเชียงใหม่ มีมากกว่า 200 สาขา ซึ่งไทยมีสาขามากเป็นอันดับ 2 รองจาก ญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังถือเป็นร้านค้าปลีกที่มีเครือข่ายมาก โดยมียอดขายเฉลี่ย 65,019 บาท ต่อวันต่อสาขา

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น